Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประกันสุขภาพ ระบบประกันสุขภาพ - Coggle Diagram
การประกันสุขภาพ
ระบบประกันสุขภาพ
กลไกการจ่ายเงินแก่ผู้ให้บริการ
หลักเกณฑ์
จ่ายค่าเสียหายทั้งหมดไม่เกินเพดานที่กำหนด(pay first x dollar)
จ่ายค่าเสียหายที่เกินเพดานที่กำหนด (pay last x dollar)
คุ้มครองค่าเสียหายหมดที่เกิดขึ้น หรือจ่ายเป็นสัดส่วนองค่าเสียหายทั้งหมด
วิธีการจ่าย
จ่ายตามรายป่วย (Case base, DRG)
จ่ายตามวันนอน (Length of stay)
อัตราเหมาจ่ายรายหัว (Capitation)
จ่ายตามกิจกรรม (Fee-for-Service)
แยกจ่ายระหว่างสถานพยาบาลและแพทย์
แนวทางการแก้ปัญหาเชิงทฤษฎี
ประกันภาคสมัครใจมีปัญหามากกว่าภาคบังคับ
ให้ผู้ประกันตนมมี่ส่วนร่วมค่า่ใช้จ่าย
แก้ปัญหาละเมิดจริยธรรมฝ่ายอุปสงค์
ใช้หลักการของอัตราชุมชนมากกว่าการติดตามประสบการณ์ของแต่ละบุคคล
ควบคุมอัตตราการคิดเบี้ยประกัน
ควรให้การประกันสุขภาพเป็นภาคบังคับหลักของการสร้างหลักประกันสุขภาพและ แบบสมัครใจเป็นประกันส่วนเสรม
แก้ปัญหาละเมิดจริยธรรมฝ่ายอุปทาน / บริษัทประกัน
ออกกฎระเบียบห้ามบริษัทปฏิเสธ การประกันผู้ที่มีความเสี่ยงสูง
การประกันสุขภาพในประเทศต่างๆ
การประกันสุขภาพภายใต้การประกันสังคม (Social health insurance)
เป็นการประกันสุขภาพที่รัฐบาลบังคับให้นายจ้างและลูกจ้างจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสุขภาพเพอื่น เป็นเบี้ยประกันความเสียงที่เกิดจากการเจ็บป่วย
ประเทศที่ใช้ระบบนี้
เบลเยียม
ฝรั่งเศส
ออสเตรีย
เนเธอร์แลนด์
เยอรมัน
ระบบบริการสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพ
(National health service)
เป็นการประกันสุขภาพที่เบี้ยประกันความเสี่ยงมาจากภาษีอากรทั่วไป รัฐบาลจึงเป็นทั้งผู้รับประกันสุขภาพและเป็นผู้ให้บริการสุขภาพเนื่องจากระบบบริการสุขภาพเกือบทั้งหมดเป็นของรัฐ
ประเทศที่ใช้ระบบนี้
ฮังการ,ี อิตาล
นิวซีเเลนด,์ โปแลนด์
เดนมาร์ก, กรีซ
โรมาเนีย, และรัสเซย
อังกฤษ, สาธารณรัฐเช็ก
การให้สวัสดิการการรักษาพยาบาล
ข้อแตกต่างของประกันสุขภาพกลุ่มต่างๆ
สิทธิประโยชน์เเละบริการที่ไม่ครอบคลุม
ของการสร้างหลักประกันสุขภาพภายใต้โครงการต่างๆ นั้นมีความแตกต่างกัน
ประชากรกลุ่มเป้าหมายและความครอบคลุม
ความครอบคลุมของการมีหลักประกันสุขภาพของประชาชนเพิ่มขึ้นเป็นลำดับ ประมาณการณ์ผู้ที่ได้รับการครอบคลุมจากประกันสุขภาพคิดเป็น 80.3% ของประชาชนทั่วประเทศ
แหล่งที่มาของเงิน
แหล่งที่มาของเงินและกลไกการจ่ายเงินค่าตอบแทนแก่สถานพยาบาล มีผลโดยตรงต่อพฤติกรรมของผู้ใหบริการและประชาชนผู้ใช้บริการ
การสร้างหลักประกันสุขภาพในปัจจุบัน
คุณภาพในการให้บริการและความพึงพอใจจากผู้รับบริการ
การขาดประสิทธิในการบริหารงบประมาณที่เกี่ยวข้องกับการจัดสวัสดิการบางโครงการ
ความไม่เท่าเทียมกันในหลักประกันของกลุ่มต่างๆ
ความไม่เป็นเอกภาพในการดำเนินการ
(คนเดียวมี่หลายสิทธิ)
การที่ผู้ด้อยโอกาสไม่ได ้รับหลักประกันอย่างแท้จริง
การขาดหลักประกันทางด้านสุขภาพของประชาชนบางกลุ่ม
วิธีการ/รูปแบบการชดเชยความเสี่ยง
การจุนเจือผู้ป่วยจากครอบครัวและญาติมิตร
การบริจาคให้กับผู้ป่วย
การออมไว้ยามเจ็บป่วย
การประกันสุขภาพเป็นวิธีแลกเปลี่ยนความเสี่ยงระหว่างบุคคล