Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยฟื้นคืนชีพในทารกและเด็ก - Coggle Diagram
การช่วยฟื้นคืนชีพในทารกและเด็ก
นิยาม
Cardiopulmonary Resuscitation (CPR)
การแก้ไขการตายอย่างกะทันหันที่เกิดจากภาวะหยุดหายใจ
โดยผู้ปฏิบัติการกู้การทางานของหัวใจ และปอดให้เริ่มทาหน้าที่ได้ต่อไปหลังจากหัวใจหยุดทางานภายในระยะเวลาอันจากัด
ป้องกันมิให้ ผู้ป่วยเกิด Cardiac Arrest ได้
การช่วยเหลือเป็นขั้นตอนการช่วยฟื้นชีวิตขั้นพื้นฐานหรือ BLS
เด็กใช้ CAB เหมือนในผู้ใหญ่
ทารกแรกเกิดใช้ ABC
อุปกรณ์สาหรับใช้ในการช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
อุปกรณ์สาหรับการดูดเสมหะ
ลูกสูบยางแดง (Bulb syringe)
เครื่องสาหรับดูดเสมหะ (Mechanical suction)
สายสาหรับดูดเสมหะ (Suction catheter) ขนาด 5F or 6F, 8F และ10F หรือ 12F
Meconium aspirator
NG-tube for feeding และ syringe 20 cc.
อุปกรณ์สาหรับการให้ออกซิเจน
Infant resuscitation bag with reservoir (the bag must be capable of delivering 90% to 100% oxygen)
Face masks หลายขนาด สาหรับ newborn and premature sizes
Oxygen with flow meter (flow rate up to 10 L/min) and tubing
อุปกรณ์สาหรับการใส่ท่อช่วยหายใจ
Laryngoscope with straight blades No. 0 สาหรับทารกคลอดก่อนกาหนดและ No. 1 สาหรับทารก ครบกำหนด
Endotracheal tube sizes 2.5, 3.0, 3.5, 4.0 mm.
Extra bulbs and batteries for laryngoscope
Stylet
กรรไกร
อุปกรณ์สาหรับใส่สายumbilicalcatheter
umbilical artery catheterization tray
umbilical tape
umbilical catheters
3-way stopcocks
ยาต่างๆ
Epinephrine 1:10 000 (0.1 mg/mL) 3-mL or 10-mL ampules
Isotonic crystalloid (normal saline or Ringer’s lactate) for volume expansion 100 or 250 mL
Sodium bicarbonate 4.2% (5 mEq/10 mL) 10-mL ampules
Naloxone hydrochloride 0.4 mg/mL 1-mL ampules; or 1.0 mg/mL 2-mL ampules
Normal saline, 30 mL
Dextrose 10%, 250 mL
อุปกรณ์อื่นๆ
Radiant warmer or other heat source
Stethoscope
Firm, padded resuscitation surface
พลาสเตอร์, ถุงมือปราศจากเชื้อ, Syringes, Needles
Cardiac monitor and electrodes
Oropharyngeal airways
พิจารณาจากอาการหลักท่ีสำคัญ
การหายใจ
หายใจเฮือกหรือหายใจไม่คล่อง
หยุดหายใจ
การร้องไห้
ทารกครบกำหนดหรือไม
ความตึงตัวของกล้ามเน้ือ
อัตราการเต้นของหัวใจ
การช่วยเหลือทารกที่สำคัญ
1การช่วยเหลือพื้นฐานหรือขั้นต้น (Basic step)
Warmth
เช็ดตัวทารกให้แห้ง
Radiant warmer
ห่อตัวให้ทารกด้วยผ้าที่อุ่น
ให้ทารกนอนบนหน้าอกหรือท้องของมารดา skin to skin contact
Clearingtheairway
ใช้นิ้วชี้ดึงคางข้ึนมืออีกข้างหนึ่งกดหน้าผากลงเล็กน้อย เอียงหูและแก้มฟังเสียงหายใจตามองทหี่ น้าอกเพื่อสังเกตการเคลื่อนไหวของทรวงอกและ ประเมินการหายใจหลังจากนั้นดูดเสมหะในปากและจมูกตามลาดับ
Positioning
นอนหงายหรือนอนตะแคง
แนวของศีรษะควรตรง
เงยหน้าเล็กน้อยเพื่อเปิดทางเดินหายใจใหโ้ล่ง
ใช้ผ้าห่มหรือผ้าเช็ดตัวม้วนรองใต้ไหล่ ของทารกสูงจากพื้นที่นอนประมาณ 2 - 3 เซนติเมตร (3/4 – 1 นิ้ว)
Suctioning
ใช้ลูกสูบยางแดงดูดเสมหะจากในปาก
ควรทาทันทีภายหลังจากท่ีคลอดศีรษะของ ทารก
จากนั้นจึงดูดในคอและจมูกตามลำดับ
ไม่มีเสมหะ
Oxygenadministration
ให้100%ออกซิเจนในราย
ท่ีมีภาวะ cyanosis
ควรเปิดอย่างน้อย 5L/M
ให้ผ่านทาง face mask and flow- inflating bag หรือ oxygen mask
วิธี hand cupped around oxygen tubing
อัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 100 ครั้งต่อนาที
อาการของการหายใจลำบาก
Clearing the airway of meconium
กรณีท่ีน้ำคร่ำของมารดามีขี้เทาปนเปื้อน
ช้การดูดเสมหะโดยเครื่องต่อกับสายขนาด 12F – 14F หรือลูกสูบยางแดง
ดูดในปาก คอและจมูกตามลำดับ
Tactile stimulation
กระตุ้นโดยการตีหรือดีดฝ่าเท้า
ไม่ควรใช้เวลานานเกิน 15 – 20 วินาที
ใช้ฝ่ามือลูบท่ีหลังทารก
Ventilation
ให้ positive pressure ventilation (PPV) ด้วยออกซิเจน 100%
ข้อบ่งชี้
ทารกท่ีไม่หายใจ
ทารกท่ีไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้นการหายใจ
ในรายท่ีทารกมี apnea หรือ gasping respirations
ทารกหายใจแต่มีอัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า100คร้ังต่อนาที
ทารกท่ีมีภาวะcyanosisแม้ว่าได้ให้100%ออกซิเจนผ่านทางfacemaskandflow-inflating
bag หรือ oxygen mask หรือ วิธี hand cupped around oxygen tubing
จัดท่าให้ทารกโดยการแหงนคอขึ้นเล็กน้อย เลือกขนาดของ maskให้เหมาะสมกบั ทารกโดย mask ต้องคลุมคางถึงด้ังจมูก
การใส่ท่อหลอดลมคอ endotracheal tube (ET tube)
ข้อบ่งชี้
ทารกที่มีน้าคร่าและขี้เทาใน trachea และต้องดูดออก
ทารกได้ทาPPVด้วย bagและmaskแล้วแต่อาการไม่ดีข้ึน
ทารกท่ีต้องช่วยเหลือโดยการทาChestcompression
ทารกที่สงสัยว่ามีDiaphragmatichernia
ทารกท่ีมีน้าหนักตัวน้อยกว่า 1,500 กรัมและไม่มีการหายใจ อัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 100 ครั้ง
ต่อนาที โดยในการใส่ ET tube ควรเลือกขนาดให้เหมาะสมกับตัวทารก
ตำแหน่งในการใส่ผู้ใส่จะดู vocalcordเป็นแนว โดยใส่ลงไปให้ปลายของท่ออยู่เหนือตาแหน่งของcarina
คำนวณได้จากสูตร
น้าหนัก (กิโลกรัม) + 6 เซนติเมตร = ระดับความลึก ณ ตำแหน่งท่ีขอบปากของทารก
Chest compression
ทำก็ต่อเมื่อทารกมีอัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 60 ครั้ง/นาที
ควรเลือกทำจากวิธีใดวิธีหน่ึงจาก 2 วิธี
Two-finger technique
เอานิ้วกลางและนิ้วชี้วางลงบนกระดูกหน้าอก (sternum) ในระดับต่า กว่าราวนมและเหนือล้ินปี่ในแนวตรง
ให้ระดับของนิ้วท้ังสองอยู่ในแนวเดียวกัน
กดลงลึกประมาณ 1/3 ของ anterior-posterior (AP) diameter ของทรวงอกทารก
Thumb technique
การเอามือ 2 ข้างโอบรอบทรวงอกของทารก โดยให้ฝ่ามือแนบกับแผน่ หลังของ ทารก
นิ้วหัวแม่มือทั้งสองข้างบนกระดูกหน้าอก (sternum) ชิดกันหรือนิ้วหัวแม่มือทั้งสองอาจวาง ซ้อนกันถ้าหากทรวงอกของทารกเล็กมาก
Targeted Preductal SpO2 after Birth
min 60% - 65%
2 min 65% - 70%
3 min 70% - 75%
4 min 75% - 80%
5 min 80% - 85%
10min85%-95%
DRUGS USED IN PEDIATRIC ACLS
ออกซิเจน ให้ใช้ 100% ออกซิเจนในระหว่างการทา CPR เพื่อแก้ไขภาวะ Hypoxemia
Intravenous Fluids
เลือด (Blood)
พลาสมา (Plasma)
Colloid Solution
Albumin
Crystalloid Solution
Ringer's Lactate
ยาต่างๆ ท่ีใช้ควบคุมการทางานของหัวใจและความดันโลหิต
Adrenaline (Epinephrine)
เป็นท้ังแอลฟาและเบต้า-Receptor Stimulating Action
ช่วยให้หัวใจบีบตัวแรงและเต้นเร็วขึ้น
เพิ่ม Myocardial Contractility และ Conductivity และ Excitability
เพิ่ม Systemic Vascular Resistant
Atropine
0.6 มก./มล.
เป็นยา Parasympathothelytic ทาให้หัวใจบีบตัวแรงและเต้นเร็วขึ้น
Intravenous หรือหยอดทาง Endotracheal tube ขนาดที่ใช้ 0.01 มก./กก.
Lidocaine
เป็น Antiarrhythmic Drug
ในรายที่มี PVC,VT และVF ฉีดเข้าทาง Intravenous และ IV.Drip ต่อขนาดที่ใช้ 1 มก./กก.(ขนาดบรรจุ 10 มก./มล.) หรือจะหยอดทาง Endotracheal tube ก็ได้
Cordarone
เป็น Antiarrhythmic Drug
เป็นยาท่ีใช้เมื่อให้ Lidocaine แล้วไม่ได้ผล
ขนาด บรรจุ 150 มก./ 3 มล.
ขนาดที่ใช้ 5 มก./กก./24 ชม.
ข้อควรระวัง ยานี้ห้ามผสมกับ 5% D/W เพราะจะ ตกตะกอน
Isuprel
หรือ Isoproterenal
เป็น เบต้า-Receptor Stimulation
ช่วยกระตุ้นการเต้นของ หัวใจให้เร็วข้ึน
ใช้ผสมกับสารน้าให้เจือจางใน 50-100 มล.แล้ว IV.Drip ช้าๆ โดยดู Heart rate
ข้อควรระวัง ยาน้ีทาให้ O2 Consumption สูงจะต้องระวังในผู้ป่วย M.I. ยานี้ขนาดบรรจุ 0.2 มก./มล.
Dopamine
เป็น Inotropic Drug
ช่วยให้หัวใจบีบตัวแรงและเพิ่มแรงดันหลอดเลือดโดยจะ กระตุ้นทั้ง แอลฟาและเบต้า- Receptor
ถ้าให้ขนาดสูง(มากกว่าหรือเท่ากับ 10 ug/กก./นาที) จะมีฤทธิ์เป็น แอลฟาทาให้เกิด Vasoconstriction
ให้ขนาดต่า (1-5ug/กก./นาที) จะช่วยเพิ่ม Renal blood flow
ข้อควรระวังยาน้ีหาก Leak จะเกิด Tissue necrosis ได้)ขนาดบรรจุ 50 มก./มล.
Dobutamine
เป็น Synthetic Cathecholemine drug
ออกฤทธ์โดยตรงต่อเบต้า- Adrenergic Receptor Stimulating
ทำให้เพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจ ทาให้ Cardiac output เพิ่มข้ึน
ขนาด บรรจุ 250 มก./Vial
เป็นผงสีขาวใช้ผสมสารน้าและให้ใช้หลัง CPR เรียบร้อยแล้วใช้ในการรักษา Refractory Heart Failure
ยานี้จะไม่ทาให้หัวใจเต้นเร็ว ยกเว้นในขนาดสูงๆ
10% Calcium gluconate
ช่วยเพิ่มแรงบีบของหัวใจและช่วยยับยั้งการทางานของ K+
ใช้ในผู้ป่วยท่ีมี Electromechanical Dissociation
ฉีดเข้าทาง Intravenous ขนาดบรรจุ 10 มล./1 Amp = 1 กรัม (100 มก./มล.)
นาดทีใช้ 10 มก./กก.แต่ในต่างประเทศได้เอายานี้ออกจากการทา CPR แล้ว เพราะไม่ได้ผล
Sodium Bicarbonate
แก้ไขภาวะ Metabolic Acidosis
ขนาดบรรจุ 8.92 meq/10 มล.
ขนาดท่ีใช้ 1 meq/กก ฉีดเข้าทาง Intravenous
ข้อควรระวัง
ในเด็กเล็กต้องเจือจางยาน้ีด้วย Sterile Water 1 : 1 ก่อนให้เสมอเพราะอาจทาให้เกิด Intracranial hemorrhage ได้
การให้ยาน้ีมากเกินไปจะทาให้เกิด Metabolic Alkalosis ทาให้เกิด Oxyhemoglobin Dissociation Curve ขยับไปทางซ้ายทาใหก้ ารปล่อยออกซิเจนสู่เนื้อเยื่อลดลง
จากปฏิกิริยาหลังให้ยาน้ีจะมี CO2 เกิดข้ึน ดังนั้น Ventilation ของผู้ป่วยต้องเพียงพอทจี่ ะขับเอา CO2 นี้ออกมาจากร่างกาย
ห้ามผสมยานี้กับ Cathecholamine เพราะจะทาให้เกิด Cathecholamine เสื่อมสภาพ
ห้ามผสม Calcium กับยาน้ี เพราะจะทาให้ Calcium ตกตะกอน
50%Glucose
แก้ภาวะHypoglycemia
กรณีต้องการให้K+Shiftเข้าสู่cell เร็วๆในกรณี Hyper K+ โดยใช้ 50% Glucose ร่วมกับ Regular Insulin
ประเมินผลการทำCPR
คลำชีพจรและวัดความดันได้
ผู้ป่วยตอบสนองต่อการกระตุ้น
อาการเขียวลดลง
รูม่านตาเล็กลงและมีปฏิกิริยาต่อแสง
ผู้ป่วยเร่ิมหายใจเองได้
ผู้ป่วยตื่นและกลับรู้สึกตวัดีเหมือนเดิม
ควรหยุดทา CPR เมื่อ
กรณีท่ี CPR แล้วไม่ตอบสนองต่อ CPR เมื่อCPR นานมากกว่า 1 ชั่วโมงและมี Sign ของ Cardiac Death คือไม่มี Electricity ของหัวใจ
Irreversible Brain Damaged,Brain Death
ผู้ป่วยอาการดีข้ึน
ภาวะแทรกซ้อนของการทำCPR
อาเจียนและ Regurgitation ซึ่งอาจเป็นผลทำให้เกิด Aspirated Pneumonia
กระดูกหน้าอกหัก
กระดูกซี่โครงหัก
มีลมในช่องเยื่อหุ้มปอด
มีเลือดออกในช่องเยื่อหุ้มปอด
อวัยวะภายในฉีกขาด
มีเลือดออกภายใน
ปอดช้ำ
กระดูกซี่โครงแยกออกจากกระดูกหน้าอก
CPR จะมีประสิทธิภาพดีได้ผลข้ึนอยู่กับ
ทีมCPR
อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้
รถ Emergency
รถเข็น 2-3 ชั้นท่ีเข็นไปมาสะดวก
ยาท่ีจำเป็นในการทำ CPR
ท่อหลอดลมคอขนาดต่างๆ
ชุดให้ออกซิเจน(Flow meter พร้อมสายยาง)
ชุดดูดเสมหะท่ีสะอาดปราศจากเชื้อ
Defibrillator
บุคลากรควรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนในการทำCPR
ภายหลังการทำ CPR ทุกคร้ังควรประเมินโดยเฉพาะในจุดที่ยังบกพร่องและหาทางแก้ไข
ติดตามและศึกษาหาความรู้เก่ียวกับ CPR ที่ทันสมัยและนามาดัดแปลงใช้ในหอผู้ป่วย
ควรมี CPR Card หรือ CPR Drug Flow Sheet
ควรมี CPR Record Flow Sheet สาหรับจดบันทึกข้อมูลระหว่างการทา CPR เพื่อนาข้อมูลมา
วิเคราะห์ได้ในโอกาสต่อไป
บทบาทของพยาบาลเกี่ยวกับการทำ CPR
พยาบาลต้องมีความรู้และความเข้าใจเก่ียวกับขั้นตอนการทาท่ีถูกต้องและทันสมัย
พยาบาลจะต้องมีความรอบคอบช่างสังเกตและสามารถจัดเตรียมอุปกรณ์ฉุกเฉินได้ทันและเร็วในขณะที่
Cardiac Arrest เกิดข้ึน
พยาบาลต้องมีความรู้ความสามารถในการประเมินผลและวินิจฉัยว่าผู้ป่วยมีCardiacArrest
พยาบาลควรมีสติและไม่ตกใจเมื่อมีเหตุการณ์ฉุกเฉินเกิดข้ึน
พยาบาลควรมีความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาขนาดของยาและเครื่องมือต่างๆในการทาCPR
พยาบาลควรมีการตรวจเช็คเครื่องมือต่างๆท่ีเกี่ยวกับการทำให้อยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้ได้อยู่เสมอ