Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาษาต่างประเทศกับการพัฒนาวิชาชีพ, นางสาวอารียา เจริญศรี รหัสนิสิต…
ภาษาต่างประเทศกับการพัฒนาวิชาชีพ
ความสำคัญของภาษาต่างประเทศกับการพัฒนาวิชาชีพครู
แนวทางการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของครู
สอดแทรกสอนภาษาอังกฤษในวิชาที่รับผิดชอบ
หมั่นเข้าหาแหล่งข้อมูลทางวิชาการที่เป็นภาษาอังกฤษ
ใช้ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
จัดตารางและมีวินัยฝึกฝนต่อเนื่อง
สร้างแรงจูงใจพัฒนาภาษาอังกฤษให้ตนเอง
รวมตัวพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ
พัฒนาตนเอง และพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของผู้เรียน
พัฒนาตนเองด้านภาษาอังกฤษ ทั้งด้านการฟัง พูด อ่าน และเขียน เพื่อถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เรียน
การพัฒนาวิชาชีพครูสู่สมรรถนะมาตรฐานสากล
กรอบสมรรถนะวิชาชีพครูในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
การเตรียมแผนการสอนที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพันธกิจของโรงเรียน
การสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้
การพัฒนาและการใช้ทรัพยากรสำหรับการเรียนการสอน
การพัฒนาทักษะการจัดลำดับความคิดในระดับสูง
การอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้
การส่งเสริมค่านิยมด้านศีลธรรมและจริยธรรม
การวัดและประเมินพฤติกรรมของผู้เรียน
ส่งเสริมการพัฒนาชีวิต และทักษะวิชาชีพแก่ผู้เรียน
การพัฒนาด้านวิชาชีพ
การสร้างเครือข่ายกับผู้เกี่ยวข้องโดยเฉพาะผู้ปกครองนักเรียน
การจัดสวัสดิการและภารกิจแก่นักเรียน
เป้าหมายสำคัญ
รู้และเข้าใจในสิ่งที่สอน
ให้ชุมชนมีส่วนร่วม
เป็นครูที่ดีขึ้นในทุกวัน
ช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้
สมรรถนะของครูผู้สอนในศตวรรษที่ 21 ที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด
สมรรถนะครูไทย
สมรรถนะหลัก
การทำงานเป็นทีม
การบริการที่ดี
จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู
การมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน
การพัฒนาตนเอง
สมรรถนะประจำสายงาน
การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน
การพัฒนาผู้เรียน
ภาวะผู้นำครู
การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้
การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้
การบริหารจัดการชั้นเรียน
C-Teacher
Computer (ICT) Integration :
ผู้สอนต้องมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีมาช่วยในการจัดการเรียนการสอน
Constructionist : ผู้สอนต้องเข้าใจแนวคิดที่ว่า
ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ขึ้นได้เองจากการเชื่อมโยงความรู้เดิม
Content : ผู้สอนต้องมีความรู้และทักษะในเรื่องที่สอนเป็นอย่างดี
Connectivity : ผู้สอนต้องสามารถจัดกิจกรรมให้เชื่อมโยงระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
Communication : ผู้สอนมีทักษะการสื่อสาร ทั้งการบรรยาย การยกตัวอย่าง การเลือกใช้สื่อ
การนำเสนอสื่อ
Caring : ผู้สอนต้องมีมุทิตาจิตต่อผู้เรียน
Creativity : ผู้สอนในศตวรรษที่ 21 จำเป็นต้องสร้างสรรค์กิจกรรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย
การจัดโรงเรียนมาตรฐานสากล แนวทางการพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากลและการจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล
การจัดการศึกษาไทยให้พร้อมสำหรับการแข่งขันในเวทีโลกในยุคศตวรรษที่ 21
ต้องมีการพัฒนาทักษะการคิดมากขึ้น
ต้องมีการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมมากขึ้น
หลักสูตรการเรียนการสอนต้องมีความเป็นสากลมากขึ้น
การสอนภาษาต่างประเทศต้องมีประสิทธิภาพมากขึ้น
โรงเรียนต้องเป็นหน่วยบริการทางการศึกษาในมิติที่กว้างขึ้น
การจัดการศึกษาให้มีคุณภาพมาตรฐานเทียบเท่าสากล
การดำเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล
เพื่อยกระดับการบริหารจัดการของโรงเรียนให้มีการบริหารด้วยระบบคุณภาพตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ
เพื่อยกระดับการจัดการเรียนการสอนให้เทียบเคียงมาตรฐานสากลหรือมาตรฐานของประเทศชั้นนำที่มีคุ
ณภาพการศึกษาสูง
เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก โดยเน้นความเป็นเลิศทางวิชาการ สื่อสารสองภาษา
ล้ำหน้าทางความคิด
ความสำเร็จของการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล
ลักษณะของโรงเรียนมาตรฐานสากล
โรงเรียนที่มีการพัฒนาหลักสูตรการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพที่มุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก มีทักษะความรู้ความสามารถ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
โรงเรียนมาตรฐานสากล
มีหลักสูตรเด่นที่เน้นมาตรฐานทฤษฎีองค์ความรู้ ชักนำเด็กสู่การคิดโครงงานและสามารถเสนอผลงานได้อย่างชัดเจน นอกจากนั้น ต้องอยู่ภายใต้การบริหารที่เปี่ยมด้วยคุณภาพที่มีองค์ประกอบสำคัญคือ มีผู้นำล้ำเลิศความคิดครอบคลุมภาระกิจทุกด้าน ปัจจัยพื้นฐานครบถ้วนสามารถสร้างเครือข่ายร่วมพัฒนา
แนวทางการพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก
นำเอาอาเซียนมาสอนในโรงเรียน
นางสาวอารียา เจริญศรี รหัสนิสิต 60206587 วิทยาลัยการศึกษา คณิตศาสตร์ Sec.2