Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก ช่องท้อง และกระดูกเชิงกราน - Coggle Diagram
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก ช่องท้อง และกระดูกเชิงกราน
การบาดเจ็บช่องท้อง (abdominal injury)
กลไกการบาดเจ็บของช่องท้องและกระดูกเชิงกราน (mechanism of trauma)
การบาดเจ็บที่ช่องท้องที่เกิดจากการกระแทก (blunt abdominal trauma)
การบาดเจ็บที่ช่องท้องแบบมีแผลทะลุ (penetrating abdominal trauma)
การหักของกระดูกเชิงกราน (pelvic fracture)
สิ่งที่พบจากการประเมินเบื้องต้นด้วยการตรวจร่างกาย
การบาดเจ็บที่ม้าม (Tear of Spleen, Splenic injury)
การบาดเจ็บที่ตับ (Tear of Liver, Liver injury)
การบาดเจ็บของลำไส้ (Tear of Intestine)
กระดูกเชิงกรานหัก (Pelvic fracture)
การบาดเจ็บที่กระเพาะปัสสาวะ (Bladder injury)
การดูแลผู้บาดเจ็บของอวัยวะในช่องท้องและเชิงกราน
การประเมินเบื้องต้น (primary survey)
การซักประวัติการบาดเจ็บ
การซักประวัติเกี่ยวกับอุบัติเหตุจราจร
การซักประวัติเกี่ยวกับอุบัติเหตุตกจากที่สูง
การซักประวัติเกี่ยวกับการบาดเจ็บช่องท้องแบบทะลุทะลวง
การตรวจร่างกาย
การคลำ (palpation)
การเคาะ (percussion)
การดู (inspection)
การฟัง (auscultation)
การตรวจเฉพาะที่ (specific physical assessment)
การช่วยเหลือเบื้องต้น ณ จุดเกิดเหตุ (pre hospital phase)
เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง
ควบคุมการเสียเลือดจากการบาดเจ็บให้มากที่สุด
ปิดบาดแผล หรือหากมีอวัยวะภายในออกมานอกช่องท้อง ควรนำก๊อสชุบ NSS. คลุมไว้ก่อน เพื่อป้องกันการปนเปื้อนและการบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
ดูแลเปิดเส้นเลือด
การใส่สายสวนกระเพาะอาหาร (gastric tube)
การจัดท่าสำหรับผู้บาดเจ็บที่กระดูกเชิงกราน ต้องจัดท่านอนหงาย ดูแลให้บริเวณ
กระดูกหักอยู่นิ่งๆ
รีบนำส่งโรงพยาบาลโดยเร็ว
การดูแลระยะอยู่ในโรงพยาบาล (hospital phase)
ประเมินสัญญาณชีพ
จัดท่าศีรษะสูงอย่างน้อย 45 องศา เพื่อส่งเสริมการระบายอากาศ
เตรียมผู้บาดเจ็บให้พร้อมในการตรวจวินิจฉัยพิเศษ
การบาดเจ็บที่ช่องท้อง
การถ่ายภาพรังสีช่องท้อง
การเอกซ์เรย์คอมพิวเตอร์ท้อง
การถ่ายภาพรังสีอื่นๆ
การทำหัตถการเพื่อวินิจฉัยการบาดเจ็บที่ท้อง
การสวนล้างช่องท้องเพื่อการวินิจฉัย
ดูดเลือดสดได้ตั้งแต่ 10 ml ขึ้นไป หรือดูดได้เศษอาหาร น้ำดี
ดูดได้เลือด < 10 ml หรือไม่ได้gastric content ปนออกมา ให้นำชุดให้สารน้ำที่เป็น Isotonic solution
การอุลตร้าซาวด์ข้างเตียง
Pericardia
Perihepatic and subsphrenic space
Perisplenic
Pelvic
การตรวจทางหน้าท้อง
CT scan of the pelvis
Cystography
Plain KUB (kidney-ureter-bladder)
การเตรียมผู้บาดเจ็บเพื่อผ่าตัดด่วน
การบาดเจ็บทรวงอก (chest injury)
สาเหตุของการบาดเจ็บทรวงอก
การบาดเจ็บทรวงอกจากการถูกกระแทก
การบาดเจ็บทรวงอกจากการมีแผลทะลุ
ภาวะการบาดเจ็บทรวงอก
อาการของการบาดเจ็บทรวงอก
ทรวงอกผิดรูป มีการเคลื่อนไหวผิดปกติ
หายใจลำบาก เร็วตื้น
ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตต่ำลงอย่างรวดเร็ว หลังได้รับการบาดเจ็บ
ไอเป็นเลือด
ผนังทรวงอกนูนขึ้น คลำได้subcutaneous emphysema
เจ็บหรือกดเจ็บบริเวณที่บาดเจ็บ คลำพบกระดูกกรอบแกรบบริเวณที่หักได้
เจ็บหน้าอกรุนแรง หายใจลำบาก
เจ็บเมื่อหายใจเข้า หรือมีการเคลื่อนไหวของทรวงอกลดลงและขยับ 2 ข้างไม่เท่ากัน
ฟังเสียงปอดได้เบาลง (decreased breath sound)
เคาะปอดได้ยินเสียงทึบ (dullness) หรือโปร่งมากกว่าปกติ (hyper-resonance)
ฟังเสียงหัวใจได้เบาลง
มีภาวะขาดออกซิเจน เช่น ริมฝีปาก ปลายมือ ปลายเท้าเขียว กระวนกระวาย กระสับกระส่าย
โรคทางทรวงอกที่เกิดจากการบาดเจ็บ
Flail chest with pulmonary contusion
Open pneumothorax (sucking chest wound)
Tension pneumothorax
Massive hemothorax
Cardiac tamponade
การดูแลผู้บาดเจ็บทรวงอก
การประเมินเบื้องต้น (primary survey)
การตรวจร่างกาย
การดู (inspection)
การคลำ (palpation)
การเคาะ (percussion)
การฟัง (auscultation)
การช่วยเหลือเบื้องต้น ณ จุดเกิดเหตุ (pre hospital phase)
เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง
chin lift (ยกคาง)
Jaw thrust (ยกขากรรไกร)
ดูแลยึดตรึงผนังทรวงอกไม่ให้มีการเคลื่อนไหวหรือเคลื่อนไหวน้อยที่สุด
ผู้บาดเจ็บที่มี open pneumothorax
ผู้บาดเจ็บที่มี tension pneumothorax
การดูแลระยะอยู่ในโรงพยาบาล (hospital phase)
ประเมินสัญญาณชีพ
จัดท่าศีรษะสูงอย่างน้อย 45 องศา เพื่อส่งเสริมการระบายอากาศ
ผู้บาดเจ็บที่มี open pneumothorax
เตรียมผู้บาดเจ็บใส่ ICD (intercostal chest drain)
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะและยาป้องกันบาดทะยัก (anti-tetanus)
ดูแลและติดตามผลเอกซเรย์ทรวงอกตามแผนการรักษา
ผู้บาดเจ็บที่มี tension pneumothorax ต้องเตรียมใส่ ICD เพื่อระบายลมออกและช่วย
ให้ปอดขยายตัวได้ดีขึ้น
ผู้บาดเจ็บที่มี massive pneumothorax
กรณีที่มีภาวะช๊อค ดูแลจัดท่านอนศีรษะราบ ยกปลายเท้าสูง เพื่อช่วยให้เลือดไหล
กลับเข้าสู่หัวใจได้มากขึ้น
ดูแลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำหรือส่วนประกอบของเลือดตามแผนการรักษา
ด้วยเข็มเบอร์ใหญ่ เพื่อทดแทนปริมาณเลือดที่เสียไป
เตรียม ICD เพื่อระบายเลือดออกจากช่องเยื่อหุ้มปอดโดยด่วน
หากมีเลือดออกมากกว่า 1,500 มิลลิลิตรในการใส่ ICD ครั้งแรก เป็นข้อบ่งชี้ในการ
ผ่าตัดเปิดช่องอก (Thoracotomy) เพื่อห้ามเลือดโดยด่วน
ผู้บาดเจ็บที่มี cardiac tamponade
ต้องเตรียมผู้บาดเจ็บในการระบายเลือดออกจากช่องเยื่อหุ้มหัวใจ
ติดตามประเมิน EKG 12 leads ตลอดการท า pericardiocentesis
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ติดตามประเมินการเต้นของหัวใจ