Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตั้งครรภ์แฝด
(twin pregnancy,multifetal
pregnancy,หรือ…
การตั้งครรภ์แฝด
(twin pregnancy,multifetal
pregnancy,หรือ multiplegestation)
ความหมาย
สตรีที่มีการตั้งครรภ์แฝดการตั้งครรภ์ ครรภ์ที่มีทารกในครรภ์มากกว่า 1 คนขึ้นไปพบวาการตั้งครรภ์แฝดมีผลทำให้เพิ่มภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์ทั้งต่อมารดาและทารก
โดยพบว่ายิ่งจำนวนทารกมากขึ้นโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนก็ยิ่งสูงขึ้น ดังนั้นหากสามารถวินิจฉัยก่อนคลอดและให้การดูแลรักษาความผิดปกติของทารกได้รวดเร็วขึ้นจะส่งผลให้อัตราตายและทุพพลภาพปริกำเนิดลดลง
ชนิดของการตั้งครรภ์เเฝด
- Monozygotic (identical) twins คือ การตั้งครรภ์แฝดที่เกิดจากใช้ไข่ใบเดียวกัน (แฝดเหมือน) เกิดจากการปฏิสนธิของไข่ใบเดียวกับอสุจิตัวเดียวแล้วมีการแยกเป็น 2 ตัวอ่อน (twinningprocess) ทารกแฝดชนิดนี้จะมีรูปร่าง หน้าตา เพศ และลักษณะทางพันธุกรรมต่างๆ เหมือนกัน การแบ่งตัวของไข่ที่ได้รับการผสม (fertilized ovum) อาจเกิดขึ้นในระยะเวลาที่ต่างกันทำให้จำนวนรกและถุงน้ำคร่ำแตกต่างกันไป ได้แก dichorion & diamnion,monochorion & diamnion หากระยะเวลาของไข่ที่ได้รับการผสมมีการแบ่งตัวเกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ 13 เป็นต้นไปจะทำให้เกิดทารกแฝดชนิด Conjoined twins
- Dizygotic (fraternal) คือ การตั้งครรภแฝดที่เกิดจากไข่คนละใบ เป็นแฝดชนิดที่เกิดจาการผสมไข่ 2 ใบกับอสุจิ 2 ตัว ทารกแฝดชนิดนี้จะมีรูปร่าง หน้าตา และพันธุกรรมแตกต่างกัน ส่วนเพศของทารกอาจเป็นเพศเดียวกันหรือต่างเพศกันลักษณะของรก เยื่อหุ้มทารกและถุงน้ำคร่ำ เป็นแบบ dichorion & diamnion โดยรกอาจเชื่อมต่อกันเป็นอันเดียวหรือแยกกัน
สาเหตุเเละปัจจัยส่งเสริม
-
-
3.การถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์สตรีที่มีประวัติครอบครัวโดยเฉพาะญาติฝ่ายมารดามีครรภ์แฝดจะมีโอกาสเกิดการตั้งครรภ์แฝดเพิ่มขึ้น
-
5.รูปร่างและภาวะโภชนาการพบว่าสตรีตั้งครรภ์ที่มีรูปร่างใหญ่และมีภาวะโภชนาการดีมีโอกาสเกิดการตั้งครรภ์แฝดเพิ่มขึ้น
6.การรักษาภาวะมีบุตรยากพบว่าสตรีที่ได้รับยากระตุ้นการตกไข่หรือการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์มีผลทำให้เกิดการตั้งครรภ์แฝดเพิ่มขึ้น
7.ยาเม็ดคุมกำเนิดพบวาสตรีที่มีการตั้งครรภ์เดือนแรกหลังหยดรับประทานยา เม็ดคุมกำเนิดมีโอกาสเกิดการตั้งครรภแฝด
เเนวทางการรักษา
1.ระยะก่อนตั้งครรภ์ โดยให้คำปรึกษาก่อนการตั้งครรภ์ (preconception Counseling) กรณีที่มีภาวะเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์แฝด ได้แก สตรีที่มีบุตรยากและใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์เพื่อเตรียมความพร้อมทางด้านร่างกายและจิตใจ
2.ระยะตั้งครรภ์
2.1 การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และให้คณค่าทางโภชนาการควรที่จะได้รับพลังงานที่เพิ่มขึ้นประมาณ 300 kcal เมื่อเทียบกับการตั้งครรภ์เดี่ยวหรือหากสตรีตั้งครรภ์มี BMI อยู่ในเกณฑ์ปกติ (18.5-24.9 kg /m2) ควรมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นประมาณ 16.8-24.5 kg. หากมี BMI อยู่ในเกณฑ์ Overweight (25.0-29.9 kg /m2) ควรมีน้ำหนักเพิมขึ้นประมาณ 14.1-22.7 kg. และหากมี BMI อยู่ในเกณฑ์ obesity (>30.0 kg /m2) ควรมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นประมาณ 11.4-19.1 kg
2.2 แนะนำให้มีการพักผ่อนอย่างเต็มที่อาจเป็นท่าศีรษะสูงหรือนอนตะแคงซ้ายเพื่อลดอาการแน่น อึดอัดและเพิ่ม
ปริมาณการไหลเวียนเลือดไปเลี้ยงที่มดลูก
-
-
-
-
-
3.6 ตรวจร่างกายทารกอย่างละเอียดเพื่อประเมินความพิการหรือความผิดปกติกรณีที่ทารกคลอดออกมาเป็นเพศเดียวกันควรทำการตรวจรกประเมินว่าเป็น monozygotic หรือ dizygotic tits
ระยะหลังคลอด
4.1 กรณีที่มดลูกมีการหดรัดตัวไม่ดีจากการยืดขยายมากเกินไปควรให้ Oxytocic drug เพื่อป้องกันภาวะตกเลือดหลังคลอดและให้เลือดทดแทนในรายที่มีการตกเลือดหลังคลอดเกิดขึ้นแล้ว
4.2 กรณีมารดาหลังคลอดที่มีการใช้สูติศาสตร์หัตถการมีภาวะถุงน้ำแตกก่อนกำหนดคลอดได้รับการหมุนเปลี่ยนท่าทารกในโพรงมดลูก (internal version)หรือได้รับการล้วงรกควรให้ยาปฏิชีวนะเพื่อเป็นการป้องกันการติดเชื้อหลังคลอด
ิ4.3 ดูแลให้ได้รับยาเสริมธาตุเหล็กทดแทนปริมาณเลือดที่สูญเสียไปโดยเฉพาะในรายที่มีภาวะตกเลือดหลังคลอดเกิดขึ้น
-
-
-
-