Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1(2) ความรู้เบื้องต้นของการเงินระหว่างประเทศ และสภาพแวดล้อมทางการเงิน…
บทที่1(2) ความรู้เบื้องต้นของการเงินระหว่างประเทศ และสภาพแวดล้อมทางการเงินระหว่างประเทศ
ระบบอัตราแลกเปลี่ยน
ปัจจัยที่กำหนดอัตราแลกเปลี่ยน
การเจริญเติบโตทางเศรษกิจ (-/+)
นโยบายการเงินของรัฐบาล (-)
ความเสี่ยงในการลงทุน (-)
นโยบาลการคลังของรัฐบาล (-/+)
ความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลกของภาคธุรกิจ (+)
ความคาดหวังของอัตราแลกเปลี่ยน (+)
อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง หรือ อัตราผลตอบที่แท้จริงจากการลงทุน (+)
ความน่าเชื่อถือของธนาคารกลาง (+)
อัตราเงินเฟ้อ (-)
การแบ่งระบบตามกองทุนการเงินระหว่างประเทศ
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัวกึ่งจัดการ (Managed floating exchange rate )
มีการปรับนโยบายการเงิน เพื่อปรับค่าเงิน
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัวอิสระ (Freely floating exchange rates)
ไม่มีการแทรกแซงใดๆ
อัตราแลกเปลี่ยนที่กำหนดคงที่แต่ปรับเปลี่ยนได้เป็นระยะ (Modified fixed exchange rate)
มีการเข้าแทรกแซงเพื่อสร้าง demand
ความหมาย
อัตราแลกเปลี่ยน คือ ราคาของเงินสกุลหนึ่งในรูปของเงินอีกสกุลหนึ่ง
ดุลการชำระเงินและการเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เกณฑ์การบันทึกธุรกรรมระหว่างประเทศ
ใช้หลักระบบบัญชีคู่
เครดิต
เงินไหลเข้า (export)
เดบิต
เงินไหลออก (import)
การบันทึกรายการจะประเมินราคาโดยใช้ราคาตลาดเป็นหลัก
หากกำหนดเป็นเงินตราต่างประเทศ จะเทียบจากหน่วยสกุลเงินหนึ่งๆ เป็นดอลลาร์สหรัฐ
เป็นไปตามหลักเกณฑ์คงค้าง ณ เวลาที่เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ
โครงสร้างของดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ
ดุลบัญชีเงินทุน (Capital and financial account)
บัญชีทุน
การโอนย้ายเงินทุนหรือการโอนสิทธิในทรัพย์สินถาวรและการยกเลิกหนี้
การซื้อขายทรัพย์สินที่ไม่ก่อให้เกิดการผลิตและไม่ใช่ทรัพย์สินทางการเงินทั้งที่สามารถจับต้องได้และไม่สามารถจับต้องได้
บัญชีการเงิน
การลงทุนในหลักทรัพย์ (Portfolio investment)
ตั๋วเงิน
เครื่องมือทางการเงินในตลาดเงิน
ตราสารทุน ตราสารหนี้
การลงทุนอื่นๆ (Other investment)
สินเชื่อทางการค้า
เงินฝาก
เงินกู้
บัญชีลูกหนี้/เจ้าหนี้
การลงทุนโดยตรง (Direct investment)
ดุลบัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ (Official reserve account)
เงินตราต่างประเทศในรูปของเงินฝากและหลักทรัพย์ที่อยู่ในความดูแลของธนาคารกลาง
สิทธิพิเศษถอนเงิน (Special Drawing Rights:SDRs)
ทองคำ
ฐานะเงินสำรองของประเทศที่มีไว้กับ IMF
ดุลบัญชีเดินสะพัด (Current account)
ดุลรายได้ (Income balance)
เงินปันผลและดอกเบี้ยรับเข้ามาในประเทศ
เงินปันผลและดอกเบี้ยจ่ายไปยังต่างประเทศ
รายได้จากลูกจ้าง/พนักงาน
ดุลเงินโอนและบริจาค (Current transfers)
เงินช่วยเหลือในภาคทางการ
เงินช่วยเหลือในภาคอื่นๆ
ดุลการค้าและบริการ (Trade and Net service balance)
Import
Export
ดุลการชำระเงิน
current account + capital account + reserves account = 0
การเชื่อมโยงระหว่างธุรกรรมระหว่างประเทศและเศรษฐกิจมหภาค
ความสัมพันธ์ระหว่างดุลการชำระเงินและอัตราดอกเบี้ย
อัตราดอกเบี้ยจะมีผลกระทบต่อดุลบัญชีเงินทุนโดยตรง
ความสัมพันธ์ระหว่างงบประมาณของรัฐและดุลบัญชีเดินสะพัด
Current account = Private savings surplus + Government budget deficit ประเทศที่ขาดดุลบัญชีเดินสะพัด แสดงถึงการไม่มีการออมที่เพียงพอต่อการลงทุนภาคเอกชนและงบประมาณรัฐขาดดุล
ความสัมพันธ์ระหว่างดุลบัญชีเดินสะพัดและดุลบัญชีการเงิน
Net foreign investment = Exports - Imports ประเทศที่มีบัญชีเดินสะพัดเกินดุล จะมีเงินทุนไหลออกสุทธิไปลงทุนในต่างประเทศ
Savings - Investment = Exports - Imports ถ้าประเทศมีรายจ่ายสูงกว่ารายได้ประชาชาติ = ขาดดลในบัญชีเดินสะพัด ประเทศเงินออมสูงกว่าเงินลงทุนภายในประเทศ = เกินดุลในบัญชีเดินสะพัด
ความสัมพันธ์ระหว่างดุลการชำระเงินและอัตราเงินเฟ้อ
หากมีการนำเข้าสินค้าหรือบริการมากจนแทบที่สินค้าหรือบริการภายในประเทศ อาจกระทบต่อผลผลิต การจ้างงาน และผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ มีค่าลดลง ดุลบัญชีเดินสะพัดจะยิ่งขาดดุล
ความสัมพันธ์ระหว่างการออมและการลงทุนภายในประเทศและดุลบัญชีการเงิน
National income - National spending = Savings - Investment ประเทศมีรายได้สูงกว่ารายจ่าย เงินออมจะสูงกว่าเงินลงทุนภายในประเทศ เกิดเงินส่วนเกินนำไปลงทุนต่างประเทศ
Savings - Domestic investment = Net foreign investment เงินออมส่วนเกิน = การขาดดุลในบัญชีทุน หรือ
เงินออมส่วนขาด=การเกินดุลในบัญชีทุน
ความสัมพันธ์ระหว่างดุลการชำระเงินและอัตราแลกเปลี่ยน
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัว
หากเกินดุล(ขาดดุล)ในดุลชำระเงินอุปสงค์(อุปทาน)ของDCจะมีมากเมื่อเทียบกับFC ผลคือDCจะมีค่าเพิ่มขึ้น(ลดลง)เมื่อเทียบกับFC
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวแบบจัดการ
รัฐบาลจะไม่เข้าไปแทรกแซงค่าเงินโดยตรงแต่จะปรับอัตราดอกเบี้ยซึ่งจะกระทบต่อดุลบัญชีเงินทุนแทน
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่
หากผลรวมของดุลบัญชีเดินสะพัดและดุลบัญชีเงินทุนมากกว่า(น้อยกว่า) ศูนย์ รัฐบาลจะแทรกแซงโดยทำการซื้อ(ขาย)FC แลกเปลี่ยนกับการขาย(ซื้อ)DC