Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สิทธิจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ, พยาบาลมีสิทธิที่จะดำรงไว้ซึ่งศักดิ์เเละก…
สิทธิจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
สิทธิ
เด็ก :
อนุสัญญา
สิทธิในการอยู่รอด
สิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง
สิทธิที่จะได้รับการพัฒนา
สิทธิในการมีส่วนร่วม
ปฏิญาสากล
เด็กและเยาวชน พึงได้รับสิทธิเท่าเทียมกัน :
เด็กและเยาวชน พึงได้รับการพิทักษ์คุ้มครองเป็นพิเศษ
เด็กและเยาวชน มีสิทธิที่จะได้มีชื่อและมีสัญชาติแต่กำเนิด
เด็กและเยาวชน พึงได้รับความมั่นคงทางสังคมและเติบโตอย่างสมบูรณ์
เด็กและเยาวชน จะเป็นบุคคลแรกที่ได้รับการคุ้มครองและสงเคราะห์ในทุกกรณี
เด็กและเยาวชน พึงได้รับการปกป้องให้พ้นจากการถูกทอดทิ้ง ความโหดร้ายทารุณ
เด็กและเยาวชน ที่พิการทั้งทางร่างกาย สมอง และจิตใจ มีสิทธิที่จะได้รับการรักษาพิเศษ
เด็กและเยาวชน พึงได้รับการคุ้มครองให้พ้นจากการกระทำที่แสดงถึงการกีดกัน แบ่งแยก
เด็กและเยาวชน พึงได้รับความรักและความเข้าใจ
เด็กและเยาวชน มีสิทธิที่จะได้รับการศึกษา
สิทธิมนุษยชน
สาระสำคัญตามปฏิญญาสากล
ทุกคนมีสิทธิและอิสรภาพโดยปราศจากความแตกต่างกันทั้งในเรื่องเชื้อชาติผิวเพศภาษา ศาสนากำเนิดสังคมทรัพย์สิน
มนุษย์ทุกคนเกิดมามีอิสรภาพและมีความเสมอภาคปฏิบัติต่อกันด้วยการให้เกียรติกัน
ทุกคนมีสิทธิในการดำรงชีวิตเสรีภาพและความมั่นคงแห่งตน
บุคคลจะถูกยึดเป็นทาสหรือภาระจำยอมไม่ได้
บุคคลจะถูกทรมานหรือได้รับการลงโทษที่โหดร้ายผิดมนุษย์ต่ำช้าไม่ได้
บุคคลเสมอภาคกันตามกฎหมายและมีสิทธิได้รับการคุ้มครองของกฎหมายเท่าเทียมกัน
บุคคลจะถูกกักขังเนรเทศจับกุมโดยพลการไม่ได้
บุคคลมีสิทธิที่จะปกป้องตนเองจากการถูกกล่าวหาและจะได้รับการพิจารณาอย่างเป็นธรรม
บุคคลจะถูกสอดแทรกโดยพลการไม่ได้
บุคคลมีสิทธิที่จะออกจากประเทศใด ๆ ไปรวมทั้งประเทศของตนและมีสิทธิจะกลับมาอีก
บุคคลมีสิทธิจะแสวงหาและพำนักในประเทศอื่นเพื่อลี้ภัยจากการประหัตประหาร
ชายหญิงที่มีอายุตามกฎหมายมีสิทธิที่จะทำการสมรสได้โดยปราศจากการ จำกัด ใด ๆ อันเนื่องจากเชื้อชาติศาสนาสัญชาติ
บุคคลมีสิทธิในเสรีภาพแห่งความคิดนโนธรรมและศาสนา
บุคคลจะถูกริบทรัพย์โดยพลการไม่ได้
บุคคลมีสิทธิเลือกในการทำงานการเลือกงานโดยอิสระในเงื่อนไขอันยุติธรรม
บุคคลมีสิทธิในการได้รับการรักษาทางการแพทย์การบริการทางสังคมที่จำเป็น
บุคคลมีสิทธิในการได้รับการศึกษาภาคบังคับ
บุคคลมีสิทธิเข้าร่วมกิจกรรมทางวัฒนธรรมของสังคมโดยอิสระ
บุคคลมีหน้าที่ต่อประชาคมในการพัฒนาบุคลิกภาพแห่งตนโดยอิสระและเต็มที่
หลัก 6 ประการ
ประการที่ 1. ประชาชนทุกคนมีสิทธิของตนเองเพราะทุกคนล้วนเป็นมนุษย์
ประการที่ 2. สิทธิมนุษยชนเป็นสากล หลักการสิทธิมนุษยชนใช้กับทุกคนทั่วโลกได้เหมือนๆกัน ไม่ขึ้นอยู่กับว่าเขาเป็นใคร อยู่ที่ไหน ดังนั้นการเคารพและปกป้องหลักการสิทธินุษยชนของแต่ละพื้นที่/ ประเทศจึงมีระดับที่แตกต่างกัน เพราะมีพื้นฐานทางวัฒนธรรม หรือภาวะแวดล้อมที่แตกต่างกันออกไปตามสภาพภูมิศาสตร์
ประการที่ 3. ได้รับการปฏิบัติกับทุกคนเหมือนกัน (Treated the Same) ทุกประการ แต่สิทธิมนุษยชนปฏิบัติ กับทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน (Treated Equally) และให้ "โอกาส" แก่ทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน ฉะนั้นรัฐพึงเคารพและปกป้องสิทธิมนุษยชน แก่ทุกๆคนอย่างเต็มความสามารถแม้จะมีความแตกต่าง แต่สิทธิมนุษยชนพึงตอบสนอง แก่ความต้องการเฉพาะบุคคล
ประการที่ 4. มนุษย์ทุกคนต้องได้รับการปกป้องคุ้มครองสิทธิของตนจากสังคมหรือรัฐบาล ส้คมและรัฐบาลมีพันธกิจที่จะสนับสนุนความเป็นไปได้ของสิทธิมนุษยชนให้เป็นจริง
ประการที่ 5. สิทธิมนุษยชนห่อหุ้มด้วยหลักการพื้นฐานของมนุษยภาพ (Humanity) สิทธิบางประการ เช่น สิทธิในชีวิต (The Right to Life) เป็นสิ่งที่มิอาจละเมิดได้ไม่ว่ากรณีใดๆ
ประการที่ 6. ทุกชาติต้องรับผิดชอบส่งเสริมและเคารพในสิทธิมนุษยชน ปัจเจกชน ชาติ หรือรัฐต้องมีความรับผิดชอบที่จะสนับสนุนและให้ความสำคัญกับสิริมนุษยชนข้ามพรมแดนในทุกๆ ที่และทุกๆ เวลา
ผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพ ต้องเรียนรู้
ผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพจะต้องเรียนรู้เรื่องสิทธิมนุษยชนดังนี้
นโยบาย โครงการ และปฏิบัติการด้านสุขภาพต่างๆ รวมทั้งการวิจัยเชิงคลินิกอาจจะละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยไม่ได้ตั้งใจ
การละเมิดสิทธิมนุษยชนมักจะมีผลกระทบด้านลบต่อสุขภาพของปัจเจกชนและกลุ่มชนด้วย
การส่งเสริมสิรินุษยชในปัจจุบัน สมารถข้าใจได้ว่าเป็นสารัตถะสำคัญของความพยายามในการส่งเสริมและปกป้องสุขภาพสาธารณะ
เป็นสิทธิพื้นฐานที่จำเป็นในการดำรงชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรีของมนุษย์ มนุษย์แต่ละคนย่อมมีสิทธิส่วนตัวในเรื่องที่เกี่ยวกับร่างกาย ความคิด ความเชื่อ การเลือกแนวทางดำเนินชีวิต ความสัมพันธ์ในครอบครัวและทรัพย์สมบัติส่วนตัวของตน ซึ่งผู้อื่นจะมาละเมิดมิได้ และจะต้องเป็นสิทธิที่ไม่ส่งผลกระทบหรือก่อความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น
พยาบาล
สิทธิพยาบาลในการประกอบวิชาชีพ
สิทธิในการประกอบวิชาชีพภายในขอบเขตของตนอย่างอิสระโดยไม่คํานึงถึงเวลา สถานท่ี
สิทธิที่จะได้รับการปฏิบัติตอบอย่างเป็นธรรม
สิทธิในการตัดสินใจให้บริการด้วยตนเอง
สิทธิพยาบาลในฐานะที่เป็นพยาบาลเเละเป็นมนุษย์
ฟาจินเเละปูเลน
สมาคมพยาบาลเเห่งมิชิเเกน
พยาบาลมีสิทธิเเละความรับผิดชอบในการเสริมสร้างสภาพเเวดล้อมให้เหมาะเเก่การสร้างเสริมสุขภาพ
หน่วยงานที่พยาบาลทำงานต้องให้ความเคารพเชื่อถือต่อความรู้ความสามารถ
พยาบาลมีสิทธิที่จะปรับตัวหรือถอนตัวออกจากสถานการณ์ที่ก่อให้เกิดความขัดเเย้งกับความรู้
สถาบันที่พยาบาลปฏิบัติงานอยู่ต้องจัดสรรวัสดุอุปกรณ์ให้เพียง
พยาบาลเเต่ละคน มีความรับผิดชอบที่จะต้องให้รายละเอียดเเก่สถาบัน
ผู้ป่วย
ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิขั้นพื้นฐานที่จะได้รับการรักษาพยาบาลและการดูแลด้านสุขภาพตามมาตรฐานวิชาชีพจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยไม่มีการเลือกปฏิบัติตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
ผู้ป่วยที่ขอรับการรักษาพยาบาลมีสิทธิได้รับทราบข้อมูลที่เป็นจริงและเพียงพอเกี่ยวกับการเจ็บป่วย การตรวจ การรักษา ผลดีและผลเสียจากการตรวจ การรักษาจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ ด้วยภาษาที่ผู้ป่วยสามารถเข้าใจได้ง่าย เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเลือกตัดสินใจในการยินยอมหรือไม่ยินยอมให้ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพปฏิบัติต่อตน เว้นแต่ในกรณีฉุกเฉิน อันจำเป็นเร่งด่วนและเป็นอันตรายต่อชีวิต
ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิตมีสิทธิได้รับการช่วยเหลือรีบด่วนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยทันทีตามความจำเป็นแก่กรณี โดยไม่ต้องคำนึงว่าผู้ป่วยจะร้องขอความช่วยเหลือหรือไม่
ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับทราบชื่อ สกุล และวิชาชีพของผู้ให้การรักษาพยาบาลแก่ตน
ผู้ป่วยมีสิทธิขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพอื่นที่มิได้เป็นผู้ให้การรักษาพยาบาลแก่ตน และมีสิทธิในการขอเปลี่ยนผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพหรือเปลี่ยนสถานพยาบาลได้ ทั้งนี้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของสิทธิการรักษาของผู้ป่วยที่มีอยู่
ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับการปกปิดข้อมูลของตนเอง เว้นแต่ผู้ป่วยจะให้ความยินยอมหรือเป็นการปฏิบัติตามหน้าที่ของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ เพื่อประโยชน์โดยตรงของผู้ป่วยหรือตามกฎหมาย
ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับทราบข้อมูลอย่างครบถ้วนในการตัดสินใจเข้าร่วมหรือถอนตัวจากการเป็นผู้เข้าร่วมหรือผู้ถูกทดลองในการทำวิจัยของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ
ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฏในเวชระเบียนเมื่อร้องขอตามขั้นตอนของสถานพยาบาลนั้น ทั้งนี้ข้อมูลดังกล่าวต้องไม่เป็นการละเมิดสิทธิหรือข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลของผู้อื่น
บิดา มารดา หรือผู้แทนโดยชอบธรรม อาจใช้สิทธิแทนผู้ป่วยที่เป็นเด็กอายุยังไม่เกินสิบแปดปีบริบูรณ์ ผู้บกพร่องทางกายหรือจิต ซึ่งไม่สามารถใช้สิทธิด้วยตนเองได้
จรรยาบรรณ
ข้อที่ 1 พยาบาลรับผิดชอบต่อประชาชนผู้ต้องการการพยาบาล และบริการสุขภาพพยาบาลรับผิด
ข้อที่ 2 พยาบาลประกอบวิชาชีพด้วยความเมตตากรุณา เคารพในคุณค่าของชีวิต ความมีสุขภาพดีและความผาสุกของเพื่อนมนุษย์
ข้อที่ 3 พยาบาลมีปฏิสัมพันธ์ทางวิชาชีพกับผู้ใช้บริการ ผู้ร่วมงาน และประชาชนด้วยความเคารพในศักดิ์ศรี และสิทธิมนุษยชนของบุคคล
ข้อที่ 5 พยาบาลประกอบวิชาชีพโดยมุ่งความเป็นเลิศ
ข้อที่ 4 พยาบาลยึดหลักความยุติธรรม และความเสมอภาคในสังคมมนุษย์
ข้อที่ 6 พยาบาลพึงป้องกันอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตของผู้ใช้บริการ
ข้อที่ 7 พยาบาลรับผิดชอบในการปฏิบัติให้สังคมเกิดความเชื่อถือไว้วางใจต่อพยาบาล และต่อ
ข้อที่ 8 พยาบาลพึงร่วมในการทำความเจริญก้าวหน้าให้แก่วิชาชีพการพยาบาล
ข้อที่ 9 พยาบาลพึงรับผิดชอบต่อตนเองเช่นเดียวกับรับผิดชอบต่อผู้อื่น
บทบาทพยาบาล
เอกสิทธิ์ของวิชาชีพสำหรับพยาบาล
1.เอกสิทธิ์การประกอบวิชาขีพตามกฎหมาย ปฏิบัติการพยาบาลตามที่กฎหมายกำหนดอย่างเป็นอิสระและด้วยความรับผิดชอบในการกระทำ
2.สิทธิในการปฎิเสธการกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย การกระทำที่เกินความสามารถและจะเกิดผลเสียหายแก่ผู้ใช้บริการได้
3.สิทธิที่จะได้รับการปฏิบัติจากผู้ร่วมงานในฐานะมนุษย์และผู้ประกอบวิชาชีพอย่างเท่าเทียม
4.สิทธิในการรับเลือกเข้าทำงานหรือดำรงตำแหน่งโดยชอบตามหลักคุณธรรมจริยธรรม
5.สิทธิที่จะได้รับข้อมูลข่างสารที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงในส่วนที่เกี่ยวข้อง
6.สิทธิจะได้รับค่าตอบแทนที่เป็นธรรม เหมาะสมกับภาระหน้าที่
7.สิทธิที่จะได้รับสวัสดการที่พัก ความมั่นคงและความปลอดภัยในชีวิต
8.สิทธิที่จะรวมตัวกันเป็นสหพันธ์ผู้ประกอบวิชาชีพ
9.สิทธิที่จะกระทำผิดพลาดได้ในฐานะมนุษย์โดยมิได้เจตนา
10.ธำรงรักษาไว้ซึ่งสิทธิในการตัดสินใจเลือกสรรผู้แทน ผู้บริหารองค์กรทุกระดับโดยมิควรให้มีการแทรกแซงโดยผู้อื่น
11.สิทธิในการการฟ้องร้อง ร้องเรียน ขอความเป็นธรรมได้ตามกฎหมาย หากได้รับการปฎิบัติที่มีชอบและไม่เป็นธรรม
บทบาทผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลต่อผู้ป่วย :
1.การสนองต่อสิทธิพื้นฐานที่จะรับบริการด้านสุขภาพ
ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลต้องมีบทบาทในการปกป้องการละเมิดสิทธิของผู้ป่วยทั้งในด้านของการปฏิบัติการพยาบาล
2.สิทธิที่จะได้รับบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยมีการเลือกปฏิบัตินั้น
3.สิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่างเพียงพอในด้านบริการสุขภาพ
4.ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลจะต้องมีบทบาทในการช่วยเหลือผู้ป่วย
ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลต้องแสดงข้อมูลบ่งชี้ ชื่อ สกุล ตำแหน่ง และคุณวุฒิของตนเองแก่ผู้รับบริการ
บทบาทของผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลที่สำคัญประการหนึ่งในเรื่องข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับผู้ป่วย
บทบาทของพยาบาลในการให้ข้อมูลอย่างครบถ้วน
ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลต้องมีบทบาทในการกำหนดระเบียบขั้นตอนการปฏิบัติ
การเสริมสร้างเอกภาพ
การให้ความรักและให้เกียรติแก่ผู้ร่วมวิชาชีพ ไม่คิดร้าย หรือทาลายเกียรติ ไม่ว่าจะเป็นทาง ความคิด พูด หรือการกระทา
ร่วมกันสร้างเสริมเพื่อการผดุงเกียรติ ชื่อเสียงขององค์กรที่ทางานและวิชาชีพของตน
ให้ความร่วมมือกับองค์กรวิชาชีพทุกระดับอย่างจริงใจ และทุกโอกาส
ร่วมกระทากิจกรรมเกี่ยวกับวิชาชีพทั้งด้านความคิด แรงงาน และทรัพย์สินตามศักยภาพของตน เพื่อประโยชน์สูงสุดแก่ส่วนรวม
มีแนวทาง หรือแสวงหาวิธีการผดุงความสามัคคีในกลุ่มผู้ร่วมวิชาชีพ และธารงรักษาไว้อย่างเข้มแข็ง
เมื่อมีปัญหาเกิดขึ้นเพียรพยายามแสวงหาวิถีทางเพื่อคลี่คลายหรือแก้ไขปัญหาด้วยความ อดทน และจริงใจ ให้บังเกิดสันติสุขในสังคม
จริยธรรม
การกระทำเพื่อประโยชน์ของผู้ป่วยเป็นสำคัญ
การกระทำเพื่อหลีกเลี่ยงสาเหตุหรือป้องกันอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น
การกระทำด้วยความซื่อสัตย์ตามพันธะสัญญาของวิชาชีพ
การกระทำต่อผู้ป่วยเเละครอบครัวด้วยความยุติธรรม
การบอกความจริงกับผู้ป่วย
การตัดสินเชิงจริยธรรม
ขั้นที่ 1 ทบทวนสถานการณ์เพื่อกำหนดปัญหาทางด้านสุขภาพความต้องการการตัดสินใจองค์ประกอบทางจริยธรรมและบุคคลที่มีความสำคัญและเป็นหลักในการตัดสินใจ
ขั้นที่ 3 ระบุประเด็นจริยธรรมในสถานการณ์นั้น
ขั้นที่ 2 เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อทำความเข้าใจกับสถานการณ์ให้ชัดเจน
ขั้นที่ 7 กำหนดว่าใครควรเป็นผู้ตัดสินใจ
ขั้นที่ 4 ให้ความหมายกับแนวคิดทางจริยธรรมของบุคคลและของวิชาชีพ
ขั้นที่ 5 ระบุแนวคิดทางจริยธรรมของบุคคลที่เกี่ยวข้อง
ขั้นที่ 6 ระบุความขัดแย้งในคุณค่า
ขั้นที่ 8 ระบุแนวทางปฏิบัติและผลลัพธ์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
ขั้นที่ 9 ตัดสินใจและลงมือปฏิบัติ
ขั้นที่ 10 ประเมินผลและทบทวนผลลัพธ์จากการตัดสินใจและการปฏิบัติ
พยาบาลมีสิทธิที่จะดำรงไว้ซึ่งศักดิ์เเละการการเเสดงออกของตนเอง
พยาบาลมีสิทธิที่จะพ้นจากสภาพการทำงานที่มีผลต่อการบั่นทอนสุขภาพอนามัยของตน
พยาบาลมีสิทธิที่จะเข้าใจเเละยอมรับความรู้สึกของตนเอง
พยาบาลมีสิทธิที่จะสร้างรูปแบบความสัมพันธ์กับผู้ป่วยตามที่เห็นสมควร