Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสื่อมัลติมีเดีย - Coggle Diagram
การประเมินสื่อมัลติมีเดีย
ทำไมต้องประเมินสื่อ
เพื่อการสร้างงานตามกำหนด ช่วยให้จัดเตรียมสื่อได้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย
ด้านการปรับปรุง ช่วยให้รู้ว่าสื่อขาดความสมบูรณ์ในเรื่องใด และนำไปปรับปรุงแก้ไข
ด้านการวิจัย ถ้าเครื่องมือในการวัดมีคุณภาพ จะทำให้สื่อมีความน่าเชื่อถือ และผลการวิจัยก็จะน่าเชื่อถือตามไปด้วย
ขั้นตอนการสร้างสื่อ
ADDIE Model
Development (การพัฒนา)
รายละเอียดของสื่อมีอะไรบ้าง
สื่อที่จะพัฒนาได้มาตรฐานหรือไม่
สื่อมีรูปร่างลักษณะอย่างไร
สื่อทำหน้าที่ในการสอนหรือไม่
ผู้เรียนมีการพัฒนาหรือไม่
Implementation (การนำไปใช้)
กลุ่มเป้าหมายมีความพร้อมที่จะใช้สื่อที่พัฒนาหรือไม่
Design (การออกแบบ)
รู้อย่างไรว่าวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมบรรลุ
วัตถประสงค์เชิงพฤติกรรมคืออะไร
มีกลยุทธ์อะไรที่ทำให้วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมบรรลุ
Evaluation (การประเมินผล)
ปัญหาได้รับการแก้ไขหรือไม่
ผลกระทบที่ได้รับคืออะไร
มีอะไรที่ควรเปลี่ยนแปลงหรือไม่
Analysis(การวิเคราะห์)
เราจะเเก้ปัญหาอย่างไร
ผู้เรียนต้องเรียนรู้อะไร
เนื้อหาของบทเรียนเป็นอย่างไร
ปัญหาคืออะไร
จุดมุ่งหมายของการประเมินนวัตกรรม
ประเมินเพื่อค้นพบ
ช่วยให้ผู้ประเมินได้ค้นพบกระบวนการต่างๆในระหว่างการพัฒนาเครื่องมือ และได้พบความรู้ต่างๆในทุกขั้นตอนการพัฒนา
ประเมินเพื่อเปรียบเทียบสื่อ
สื่อเเละเทคโนโลยีนั้นๆมีจุดเด่น จุดด้อยในสิ่งใด เเละนวัตกรรม สื่อเเละเทคโนโลยีใดที่สามารถนำไปใช้ในบริบทที่เเตกต่างกัน
ประเมินเพื่อเผยเเพร่
หากประเมินเสร็จแล้ว อยู่ในเกณฑ์ดีมาก แสดงว่าสื่อนั้นควรถูกนำมาเผยแพร่
ประเมินเพื่อพยากรณ์
ผลการประเมินจะสามารถทำนายกระบวนการและวิธีการประเมินที่เหมาะสมได้ในอนาคต และช่วยให้พัมนาเครื่องมือได้ทันสมัย
ประเมินเพื่อตรวจสอบ
เป็นการตรวจสอบความมีประสิทธิภาพของเครื่องมือ ว่าสามารถวัดได้ตรงตามที่ต้องการหรือไม่
ประเมินเพื่อสร้างคุณค่า
หากสื่อประเมินแล้วอยุ่ในเกณฑ์ดีหรือดีมากจะทำให้สื่อมีคุณค่าและควรนำไปเผยแพร่และใช้งานต่อไป
ประเมินเพื่อปรับใช้ ปรับปรุง พัฒนา
ผลการประเมินจะช่วยให้ผู้ประเมินนำการประเมินมาปรับใช้ได้เหมาะกับกลุ่มเป้าหมาย
การพัฒนาเครื่องมือสำหรับการประเมินนวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยี
ขั้นที่ 3 ดำเนินการสร้างเครื่องมือ
รู้เรื่องการวัดเเละประเมินผล
เป็นผู้ทำหน้าที่ตรวจสอบเครื่องมือในการประเมิน
รู้เรื่องการสร้างนวัตกรรม สื่อเเละเทคโนโลยี
เป็นผู้มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้าางสรรค์นวัตกรรม สื่อเเละเทคโนโลยี สามารถให้คำปรึกษา ร่วมกับผู้สร้างเครื่องมือทำงาน
รู้ลำดับขั้นตอน
ต้องกำหนกการตรวจสอบข้อคำถามหรือตัวชี้วัดให้ถูกต้องเเละวัดประเมินได้จริง
ขั้นที่ 4 วิเคราะห์เพื่อตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ
วิเคราะห์เป็นรายข้อเพื่อปรับปรุงเฉพาะข้อ
IOC=ผลรวมของR/N
เมื่อIOCคือค่าดัชนีความสอดคล้อง
Rคือคะเเนนของผู้เชี่ยวชาญ
Nคือจำนวนผู้เชี่ยวชาญ
วิเคราะห์คุณภาพทั้งฉบับ เพื่อดูภาพรวม
นำเอาเครื่องมือแบบวัดและประเมินใช้กับตัวอย่างในการวิจัย
ขั้นที่ 2 กำหนดชนิดของเครื่องมือในการวัด
กำหนดเครื่องมือที่เหมาะสม ควรคำนึงถึงว่าลักษณะของสิ่งที่วัดเป็นอย่างไร เครื่องมือที่สร้างจะนำไปประเมินนวัตกรรม สื่อเเละเทคโนโลยีอย่างไร รวมถึงต้องทราบลักษณะข้อดี ข้อเสียของเครื่องมือด้วย
ขั้นที่ 5 สร้างเกณฑ์แปลความหมายคะแนน
การสร้างจากเกณฑ์หรือสภาพกลุ่ม
การสร้างเกณฑ์จากลักษณะของสมรรถนะ
กำหนดเกณฑ์การผ่านในแต่ละสมรรถนะย่อย
ต้องผ่านเกณฑ์80%ถึงจะถือว่ามีความสามารถในสมรรถนะย่อยนั้นๆ
กำหนดเกณฑ์เป็นจุดตัดของแบบประเมินทั้งฉบับ
ทดสอบว่าสื่อนั้นได้กี่คะแนน ถ้าได้3.5-4คะแนน ถือว่านวัตกรรมนั้นมีคุณภาพแล้ว
กำหนดเกณฑ์โดยใช้ค่าเฉลี่ยและช่วงของระยะห่างคะแนนของแต่ละรายการ
เป็นเกณฑ์แบ่งระดับแล้วหาค่าเฉลี่ย
ขั้นที่ 1 กำหนดลักษณะของสิ่งที่จะวัด
กำหนดได้จากนิยาม ความหมาย ขอบเขต จึงควรมีหลักการ ทฤษฎี เพื่อกำหนดตัวชี้วัดเพื่อประเมินนวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ขั้นที่ 6 เขียนรายงานและคู่มือการใช้
การเขียนรายงานการสร้างแบบวัดและประเมิน
เเสดงวิธีการดำเนินการสร้าง ผลของการดำเนินการตั้งเเต่ต้นจนจบว่ามีวิธีการอย่างไรได้ผลอย่างไร
คู่มือการใช้ เป็นรายละเอียดการดำเนินการวัดและประเมิน
การวางเเผนการประเมิน
ประเมินอะไร มีจุดมุ่งหมายในการประเมินชัดเจน ระบุสิ่งที่ต้องการประเมินให้มีความชัดเจนว่าสื่อและเทคโนโลยีมีความสำคัญอะไรบ้าง เพื่อเลือกวิธีการวัดให้เหมาะสมเเละสอดคล้องกับสิ่งที่ประเมิน
ประเมินอย่างไร เป็นขั้นตอนการวัดและการประเมินนวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีให้เหมาะและสอดคล้องกับสิ่งที่ต้องการประเมิน
ประเมินทำไม จะทำให้เรารู้ถึงจุดมุ่งหมายในการประเมินเพื่อวางแผนในการประเมินได้ ตั้งแต่วิธีการเลือกเครื่องมือ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ การประเมินคุณค่าและตัดสินค่า
ตัดสินผลการประเมินด้วยวิธีใด เป็นการเลือกว่าจะใช้เกณฑ์อะไรตัดสิน ตีความผลการวิเคราะห์ นำผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบกับเกณฑ์ทสำหรับการตัดสินผลที่ดีที่สุด