Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสื่อมัลติมีเดีย, ส่วนงานในการรับผิดชอบ - Coggle Diagram
การประเมินสื่อมัลติมีเดีย
ADDIE MODEL
Analysis การวิเคราะห์
เป็นกระบวนการที่กำหนดว่าอะไรเป็นเรื่องที่ต้องเรียนรู้
ผู้เรียนต้องเรียนรู้อะไรบ้าง
เราจะแก้ปัญหาได้อย่างไร
เนื้อหาของบทเรียนเป็นอย่างไร
ปัญหาคืออะไร
Design การออกแบบ
เป็นกระบวนการที่ระบุว่าการเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้อย่างไร
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมคืออะไร
จะรู้ได้อย่างไรว่าวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมบรรลุ
มีกลยุทธ์การสอนอย่างไรที่ทำให้วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมบรรลุ
Development การพัฒนา
เป็นกระบวนการจัดทำและพัฒนาสื่อ
รายละเอียดของสื่อมีอะไรบ้าง
สื่อมีรูปร่างลักษณะอย่างไร
สื่อที่พัฒนาได้มาตรฐานหรือไม่
สื่อทำหน้าที่ในการสอนหรือไม่
ผู้เรียนมีการพัฒนาหรือไม่
Evaluation การประเมินผล
เป็นกระบวนการศึกษาถึงผล
กระทบต่อการใช้สื่อที่พัฒนาขึ้น
ปัญหาได้รับการแก้ไขหรือไม่
ผลกระทบที่ได้รับคืออะไร
มีอะไรที่ควรเปลี่ยนแปลงหรือไม่
Implementation การนำไปใช้
เป็นกระบวนการนำสื่อไปใช้จริง
ลูกค้าพร้อมที่จะใช้สื่อที่พัฒนาหรือไม่
จุดมุ่งหมายในการประเมิน
ประเมินเพื่อปรับใช้ปรับปรุงและพัฒนา
นำมาปรับปรุงกับกลุ่มเป้าหมายที่เราต้องการ
หากแบบประเมินไม่ตรงตามความต้องการ
จะทำการปรับปรุงตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ
ประเมินเพื่อตรวจสอบ
ตรวจสอบความมีประสิทธิภาพของเครื่องมือทั้งความสามารถในการวัดได้ตรงตามท่ีต้องการวัดของ เครื่องมือ และความสม่าเสมอของการใช้เคร่องมือ
ประเมินเพื่อพยากรณ์
สามารถทำนายกระบวนการและวิธีการที่
เหมาะสมได้ในอนาคต
พัฒนาปรับปรุงเพื่อให้ได้เครื่องมือ นวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีที่ทันสมัย
ประเมินเพื่อสร้างคุณค่า
หากนวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีมีการประเมินอยู่ในระดับเกณฑ์ที่ดีแและดีมาก จะทำให้สื่อและเทคโนโลยีนั้น ๆ มีคุณค่าและควรนำไปเผยแพร่
ประเมินเพื่อเปรียบเทียบสื่อ
ทราบถึงจุดเด่นและจุดด้อยของนวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีนั้นๆ
สามารถนำไปใช้ได้ถูกบริบทของนวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยี
ประเมินเพื่อเผยแพร่
หากผลการประเมินชี้ว่านวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีอยู่ในเกณฑ์ดีหรือดีมาก แสดงว่านวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีนั้นควรถูกนำเสนอหรือเผยแพร่ เพื่อการใช้งานต่อไป
ประเมินเพื่อค้นพบ
ได้ค้นพบกระบวนการต่าง ๆ ระหว่างพัฒนาเครื่องมือในการประเมิน
การวางแผนการประเมิน
2.ประเมินอะไร
เป็นการระบุสิ่งที่ต้องการประเมินให้ชัดเจน
1.ประเมินทำไม
ช่วยให้เกิดความชัดเจน ทำให้สามารถวางแผนประเมินได้
เพื่อสร้างงานตามกำหนด
จัดเตรียมสื่อได้เหมาะกับกลุ่มเป้าหมาย
ด้านการปรับปรุง
ทำให้ทราบว่าสื่อนั้น ๆ ขาดความสมบูรณ์ด้านใด
ทำการพัฒนาและปรับปรุง
ด้านการวิจัย
ช่วยสร้างความน่าเชื่อถือให้กับงานวิจัย
3.ประเมินอย่างไร
เป็นการเลือกวิธีการวัดและ
ประเมินผลให้มีความเหมาะสม
4.ตัดสินการประเมินด้วยวิธีอะไร
เป็นการเลือกว่าจะใช้เกณฑ์อะไรในการตัดสิน
การพัฒนาเครื่องมือสำหรับประเมิน นวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยี
3.ดำเนินการสร้างเครื่องมือหลังจากกำหนดชนิดของเครื่องมือในการวัด
1.รู้ลำดับขั้นตอน
2.รู้เรื่องการวัดและการประเมินผล
3.รู้เรื่องการสร้างนวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยี
4.วิเคราะห์เพื่อตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ
1.การวิเคราะห์เพื่อตรวจสอบคุณภาพเป็นรายข้อ
จะเน้นความสอดคล้องระหว่างข้อคำถาม รายการ ตัวชี้วัด คุณลักษณะ และผู้ตรวจสอบคุณภาพควรเป็นผู้เชียวชาญ โดยจะพิจารณาค่าความสอดคล้อง(IOC)ออกมาเป็นตัวเลข
2.การวิเคราะห์เพื่อตรวจสอบคุณภาพทั้งฉบับ
ทำได้โดยนำเอาเครื่องมือแบบวัดและประเมินไปใช้กับตัวอย่างในงานวิจัย แล้วนำผลการทดลองมาวิเคราะห์หาค่าคุณภาพ
2.กำหนดชนิดของเครื่องมือวัด
เป็นการกำหนดว่าเครื่องมือชนิดใดมีความเหมาะสม
1.กำหนดลักษณะของสิ่งที่จะวัด
กำหนดได้จากนิยามหรือการให้ความหมาย ขอบเขตรายละเอียด และคุณสมบัติของสิ่งนั้น
6.เขียนรายงานและคู่มือการใช้
1.การเขียนรายงานการสร้างแบบวัดและประเมิน
เป็นการเขียนให้เห็นถึงวิธีการดำเนินการสร้าง และผลของการสร้างนั้นตั้งแต่ต้นจนจบมีการดำเนินอย่างไร มีผลอย่างไร
2.คู่มือการใช้
เป็นลายเอียดเกี่ยวกับการดำเนินการวัดและประเมิน ว่าจะต้องปฏิบัติอย่างไร เพื่อสามารถนำนวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีไปใช้ได้อย่างถูกต้องจามขั้นตอนและขบวนการ
5.สร้างเกณฑ์ในการแปลความหมายคะแนน
มี2ลักษณะใหญ่
1.การสร้างจากเกณฑ์หรือสภาพของกลุ่ม
เกณฑ์แบบนี้จะเป็นสภาพโดยปกติทั่วๆไปของกลุ่มที่ได้จากการไปเก็บรวบรวมข้อมูล
2.การสร้างเกณฑ์จากลักษณะสมรรถนะ(competency)
เกณฑ์ที่ได้จากวิธีนี้เป็นไปในลักษณะของการกำหนดกลุ่มเป้าหมายจะมีสมรรถภาพจากการใช้นวัตกรรม
ลักษณะในการสร้างเกณฑ์มี3ลักษณะ ดังนี้
1.กำหนดเกณฑ์การผ่านในแต่ละสมรรภนะย่อย
โดยทั่วไปจะนิยมกำหนดเกณฑ์ในการผ่าน80%จึงจะถือว่ามีความสามารถในสมรรถนะย่อยนั้นๆ
2.กำหนดเกณฑ์เป็นจุดตัดของแบบประเมินทั้งฉบับ
วิธีนี้เมื่อได้ประเมินแล้ว ก็ต้องทดสอบว่าสื่อนั้นได้คะแนนทั้งหมดกี่คะแนน จึงจะถือว่ามีคุณภาพแล้ว
3.กำหนดเกณฑ์โดยใช้ค่าเฉลี่ยและช่วงของระยะห่างคะแนนของแต่ละรายการ
เป็นเกณฑ์ในการแบ่งระดับแล้วจึงหาค่าเฉลี่ย
เพื่อเป็นการบ่งบอกถึงระดับคุณภาพของนวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีที่ได้ทำการวัดตามข้อคำถาม
ส่วนงานในการรับผิดชอบ
วิริญชนา อยู่วงษ์ 166 รับผิดชอบส่วนสีแดง
อรดา โกมล 149 รับผิดชอบส่วนสีส้มและสีม่วง
ศุภกร นันท์ธนภูมิ 147 รับผิดชอบส่วนสีฟ้าและสีส้ม
อภิชญา คำหอมกุล 148 รับผิดชอบส่วนสีแดง
พีระพัฒน์ บุญประสพ 144 รับผิดชอบส่วนสีแดง
นัฐลดา มิตรเกษม 142 รับผิดชอบส่วนสีม่วงและสีส้ม
นิอรีซ อับดุลรอแม 143 รับผิดชอบส่วนหัวข้อและส่วนสีแดง
ยมลพร ศรีใส 145 รับผิดชอบส่วนสีแดงและสีฟ้า
ลีลาวดี แววคุ้ม 146 รับผิดชอบส่วนสีแดงและสีฟ้า
สุธิดา พิพัฒน์สิริเมธี 170 รับผิดชอบส่วนส่วนสีม่วง