Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มารดา 28ปี G2POA1 60kg.162cm. (BMI 22.8), ไม่พอ, สถานการณ์ที่ 1 - Coggle…
มารดา 28ปี G2POA1 60kg.162cm. (BMI 22.8)
ฝากครรภ์ครั้งที่2
Trimester2
Endocrine
Parathyroid
แคลเซียม metabolism
Fetal growth
ดึง แคลเซียมจากแม่
Progesterone
Muscle relaxed+
ลำไส้เคลื่อนไหวน้อยลง
ท้องผูก
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีเก๊ส
ดื่มน้ำเยอะๆ
ทานอาหารกากใยสูง
ขับถ่ายตรงเวลา
Cardiac sprinter relaxed
Gastric relaxed
เรอเปรี้ยว
นอนตะแคงขวา
ทานอาหารตรงเวลา
ทานน้อยบ่อยครั้ง
หลังทานให้นัง30นาที
Relaxin+
Pelvic joint
Sacoccygeal joint
Sacrum iliac joint
Pubic symphysis หย่อน
Blood circulation
GFR เพิ่ม
ปัสสาวะบ่อย
หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีดาแฟอื่น
ไม่ควรกลั้นปัสสาวะ
ติดเชื้อ
งดดื่มน้ำตอนเข้านอน
Keel exercise
Peripheral circulation ลต
เส้นเลือดขอด
เท้าบวม
นั่งยกขาสูง
นอนตะแคงซ้าย
หลีกเลี่ยงการใส่เสื้อผ้ารัตแน่น
กระดกปลายเท้าขึ้นลง หมุนปลายเท้าเข้าออก
Uterine ใหญ่ขึ้น
น้ำหนักเพิ่มขึ้น
Lordosis
ปวดหลัง
ใช้ยา paracatamol
ไม่ใช้ยา
1) ฝึกท่าที่ถูกต้องในการยืน นั่ง ให้ไหล่ คอ และหลังอยู่ในแนวตรง
2) ไม่ควรก้มเก็บของ แต่ควรย่อเข่าลงก่อนและไม่ควรยกของหนัก
3) หลีกเลี่ยงการใส่รองเท้าส้นสูง
5) ฝึกการหายใจแบบลึก และออกกาลังกายเพื่อผ่อนคลาย
6) ผ่อนคลายกล้ามเนื้อโดยการใช้ความร้อน
7) ออกกาลังกายท่า Pelvic rockingเพื่อบรรเทาอาการปวดหลัง
8) ใช้การแพทย์ทางเลือก เช่น การกดจุด
4) นอนตะแคงใช้หมอนหรือผ้าหนุนหลัง และข้อพับเข่า
กด IVC
Venous return ลดลง
CO ลดลง
เวียนศีรษะ หน้ามืด
ไม่เปลี่ยนท่าเร็วเกินไป
นอนตะแคงซ้าย
High metabolism
ใช้ Oxygen เพิ่มขึ้น
เหนื่อยง่าน เพลีย
เข้านอนเร็วขึ้น นอนตะแคงซ้าย
นอนพักช่วงเวลาสั้นๆ
หลีกเลี่ยงความเครียด ใช้เทคนิกผ่อนคลาย
ให้สาเเบ่งเบางานบ้าน
GA 28 wks
ฝากครรภ์ครั้งที่1
OF positive
Iron deficiency anemia
HCT 32%
HCT 32%
Low Oxygen
-Growth and Development
High fundus ไม่สัมพันธ์กับ GA
ฝากครรภ์ครั้งที่1 21week
ระดับสะดือ (20Wks)
ฝากครรภ์ครั้งที่2 28Week
1/4เหนือสะดือ (24Wks)
ฝากครรภ์ครั้งที่3 34Week
2/4เหอระดับสะดือ (28wks)
การฉีดวัดชีนป้องกันบาดทะยัก
เข็มที่ 2 อีก 1 เดือนห่างจากเข็มแรก และควรฉีดอย่างน้อย 2 สัปดาห์ก่อนคลอด เข็มที่ 3 อีก 6 เดือนห่างจากเข็ม 2
จากประวัติ dT 1 dose
จากการฝากครรภ์ที่ครั้งที่1
อายุครรภ์และระดับยอดลูก
12 wks
อยู่ที่ระดับ 1/3 เหนือกระดูกหัวหน่าว
16 wks
อยู่ที่ระดับ 2/3 เหนือกระดูกหัวหน่าว
20 wks
อยู่ระดับสะดือ
24 wks
อยู่ที่ระดับ 1/4 เหนือสะดือ
28 wks
อยู่ที่ระดับ 2/4 เหนือสะตือ
กรณีศึกษาอายุครรภ์ไม่สัมพันธ์กับระดับยอดมดลูก
34 wks
32 wks
อยู่ที่ระดับ 3/4 เหนือสะดื้อ
38-40 wks
อยู่ระดับ3+/4 เหนือสะดือ 34 week แต่ในสัปดาห์ที่ 40 ลดลงอยู่ที่ระดับ 2/4 เหนือสะดือ แต่ลักษณะท้องจะขยายออกด้านข้าง และศีรษะทารกเข้าช่องเชิงกราน
คำนวณจาก L.M.P 1 ตุลาคม 2562
ตุลาคม = 30 วัน
พฤศจิกายน = 30 วัน
มกราคม= 31 วัน
กุมภาพันธ์= 28 วัน
มีนาคม= 1 วัน
รวม= 151 วัน
คิดเป็นสัปดาห์ จะได้ 151/7 = 21 สัปดาห์ 5 วัน
เพราะฉะนั้น อายุครรภ์นับจาก L.M.P จนถึมาฝากครรภ์
จะมีอายุครรภ์ 21 สัปดาห์ 5 วัน
ปัญหาที่พบ
อายุครรภ์ 21 สัปดาห์ มาฝากครรภ์
ตรวจพบ OF positive Hct 32.6% VDRL reactive
อายุครรภ์ 28 สัปดาห์ ตรวจความเข้มข้นเลือด 29 % เกิดภาวะซีด
และมีระดับยอดมดลูกกับหน้าท้องน้อยกว่าอายุครรภ์
อายุครรภ์ 34สัปดาห์ มีขนาดมดลูกน้อยกว่าอายุครรภ์
มีระดับของยอดมดลูกกับหน้าท้องน้อยกว่าอายุครรภ์
การนัดครั้งต่อไปจะอยู่ในควรจะอยู่ในช่วง 24 สัปดาห์ ทารกอยู่ในท่า Iongitudinal lie ส่วนน้ำคือก้น ลำตัวโค้ง ทารกมีการเจริญเติบโตช้าลง พื้นที่ในท้องได้เริ่มทำให้ตัวงออีกครั้ง ผิงหนังแดง เริ่มลืมตาได้ ยังไม่เข้าสู่อุ้งเชิงกราน เนื่องจากยังไม่เกิดกลไก Engagement แม่จะรู้สึกท้องลด จะเกิดก่อนคลอดประมาณ 2 สัปดาห์
คลำพบ ballottement ได้ large part อยู่ด้านซ้ายมือของหญิงตั้งครรภ์ คลำพบก้อนนิ่มๆ บริเวณหัวเหน่า คลำท่าที่ 4 พบปลายนิ้วของผู้ตรวจสอบชนกัน
ได้ยินเสียงหัวใจทารก (fetal heart sound) โดยการฟังเสียงผ่านผนังหน้าท้องสตรีมีครรภ์ ถ้าใช้ fetoscope จะได้ยินเสียงประมาณสัปดาห์ที่ 17-20 ของการตั้งครรภ์ หากใช้ Doppler สามารถได้ยินเสียงตั้งแต่สัปดาห์ที่ 12-14 ของการตั้งครรภ์ เสียงหัวไทารกที่ปกติจะเป็นสียงคู่ ได้ยิน เสียง
funic souffle หรือumbilical cord souffleเป็นเสียงเลือดที่สายสะตืการกในครรภ์ซึ่งเป็นเสียงแผ่วเบาดังฟู จาการถูกกด หรือสายสะดือบิด มีอัตรการเต้นเท่ากับเสียงหัวใจทารก
ฟังบริเวณหน้าท้องได้ยินเสียงเท่ากับเสียง FHS 146 ฟังบริเวณ
หน้าท้อง(ปกติ110-160)
ขั้นตอนการฟังสียงหัวใจทารกในครรภ์
(วรรณรัตน์ สุวรรณ, 2556) มีดังนี้
ตรวจครรภ์ด้วยวิรี Leopold Handgrip โดยการคลำหนท้องของมารดา เพื่อค้นหาส่วนนำ และท่าของทารกในครรภ์
วางเครื่องมือตำแหน่งฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์ได้ชัดเจน เพื่อง่ายต่อการนับ
คลำหน้าท้องของมารดา เพื่อให้แน่ใจว่ไม่มีการหดรัดตัวของมดลูก
นับ matemal radial pulse ขณะฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์ เพื่อแยกอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์กับอัตราการเต้นขอหัวใจมารดา
นับอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์นาน 60 s ขณะที่ไม่มีการหดรัดตัวของมดลูกเพื่อประเมินอัตรา basline การเต้นของหัวใจทารกในครรภ์
นับอัตราการเต้นของหัวทารกในครรภ์ขณะที่มีการหดรัดตัวของมดลูกและ 30 s หลังหดรัด เพื่อประเมินการเพิ่มหรือลดลงของอัตราการต้นของหัวใจทารกในครรภ์
ไม่พอ
สถานการณ์ที่ 1