Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการสอนคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา, นางสาวปัทมา วงค์ไชย…
หลักการสอนคณิตศาสตร์
สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา
ธรรมชาติของคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่ว่าด้วยการคำนวณ
คณิตศาสตร์เป็นกลุ่มของวิชาต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับตัวเลข
คณิตศาสตร์เป็นศาสตร์ที่แสดงความเป็นเหตุเป็นผลโดยใช้สัญลักษณ์
คณิตศาสตร์ คือ สิ่งที่นักคณิตศาสตร์ทำ
คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่เป็นนามธรรมและมีขอบเขตกว้างขวาง
ลักษณะและธรรมชาติของคณิตศาสตร์เป็นจริงทุกยุคสมัย
คณิตศาสตร์เป็นสิ่งที่มีเหตุผล และสามารถพิสูจน์ได้
คณิตศาสตร์เป็นศาสตร์แห่งความรู้ที่เป็นระบบ มีโครงสร้าง และแบบแผนที่ชัดเจน
คณิตศาสตร์มีลักษณะเป็นนามธรรม
ใช้ภาษาหรือสัญลักษณ์สื่อความหมาย
การใช้จำนวนบอกความหมาย
การใช้เครื่องหมาย + แทนการรวมสิ่งของ
คณิตศาสตร์เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการคำนวณ การคิด และการแก้ปัญหา
คณิตศาสตร์มีความเป็นสากล สามารถใช้งานได้อย่างกว้างขวาง
ลักษณะของเด็กประถมศึกษา
พัฒนาการของเด็กระดับชั้นประถมศึกษา
พัฒนาการทางเชาว์ปัญญา
วัยนี้เด็กชายมีความสามารถคิดเหตุผลเชิงตรรกะได้สามารถที่จะรับรู้สิ่งแวดล้อมได้ตามความเป็นจริง สามารถที่จะพิจารณา เปรียบเทียบโดยใช้เกณฑ์หลายๆอย่าง โดยเฉพาะการจัดของเป็นกลุ่ม
พัฒนาการทางบุคลิกภาพ
เด็กในวัยนี้มักจะอยู่รวมกับกลุ่มเพื่อนกลุ่มเดียวกัน เด็กชายจะเล่นกับเด็กชาย และเด็กหญิงจะเล่นกับเด็กหญิง เด็กวัยนี้จะมีมโนธรรม รู้จักคำว่าอะไรผิดอะไรถูก โดยใช้มาตรฐานจริยธรรมของผู้ใหญ่เป็นเกณฑ์
พัฒนาการด้านร่างการ
เด็กหญิงที่มีความเจริญเติบโตทางร่างกายเร็วกว่าเพื่อนวัยเดียวกันมักจะมีปัญหาทางการปรับตัว
การประสานระหว่างมือและตาของเด็กวัยนี้จะดีขึ้น
ความแตกต่างระหว่างบุคคลในความสูงและน้ำหนัก จะเห็นได้ชัดในวัยนี้
เด็กวัยนี้บางทีมีกิจกรรมอย่างไม่เหน็ดเหนื่อย
เด็กประถมมีการเจริญเติบโตช้ากว่าเด็กวัยอนุบาลโดยทั้วไป
พัฒนาการของกล้ามเนื้อกระดูก และประสาทจะเพิ่มขึ้น เด็กชายมีพัฒนาการของกล้ามเนื้อเร็วกว่าเด็กหญิง
พัฒนาการด้านอารามณ์และสังคม
เด็กในวัยนี้จะมีการเรียนรู้การควบคุมอารมณ์
ลักษณะการสอน
การให้ภาระงานที่ซับซ้อน
การแสดงถึงวิธีการแก้ปัญหา
การให้ข้อเสนอแนะในการพูดคุยในการเรียนคณิตศาสตร์
การตั้งคำถาม
การรอคำตอบ
มาตรฐานของครูคณิตศาสตร์
ตามแนวคิด DFE
รู้จักเลือกและใช้ทรัพยากร
รู้วิธีการชี้นำให้ผู้เรียนใช้ภาษาและเกิดปฏิสัมพันธ์
มีการวางแผนการเรียนในแต่ละบทเรียน
ตระหนักถึงจุดร่วมระหว่างความคลาดเคลื่อนและมโนมติที่คลาดเคลื่อนและวิธีการป้องกันแก้ไข
มีวิธีการที่จะพัฒนาความรู้ ความเข้าใจและทักษะทางคณิตศาสตร์
ประเมินและประเมินผลการเรียนรู้
มีมุมมองที่สำคัญต่อที่จะสนับสนุนการพัฒนาของ
ผู้เรียน
ตระหนักถึงมาตรฐานของความสำเร็จ
ยกระดับความสนใจและความกระตือรือล้น
กรอบการสอนคณิตศาสตร์
มี 2 ประเภท ดังนี้
ประเภทที่ 1 สำคัญ (prime)
การพัฒนาทางกายภาพ
การพัฒนาทางอารมณ์ สังคมและบุคคล
การสื่อสารและภาษา
ประเภทที่ 2 เจาะจง (specific)
เนื้อหาคณิตศาสตร์
ความเข้าใจต่อโลก
วาทกรรมทางคณิตศาสตร์
การออกแบบและการแสดงออกซึ่งศิลปะ
เป้าหมาย มี 3 ประการ ดังนี้
การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์
การสืบเสาะแสดงความคิดเห็นถึงความสัมพันธ์
การแก้ปัญหา
ดำเนินการประยุกต์ใช้ความรู้
ความคล่องแคล่ว
ดำเนินการโดยเพิ่มการเผชิญกับ
ปัญหาที่หลากหลายและบ่อยครั้ง
หลักการสอนคณิตศาสตร์
การประเมิน
ความเป็นมืออาชีพ
เครื่องมือและเทคโนโลยี
หลักสูตร
การเข้าถึงและความเสมอภาค
การสอนและการเรียนรู้
นางสาวปัทมา วงค์ไชย 60203102