Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประเภทของหลักสูตร, นางสาวประกายกานต์ จันทรทิพย์ 61102010468 SC3ED5 -…
ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรรายวิชา/หลักสูตรเนื้อหาวิชา (subject matter curriculum)
จุดเด่น
1.ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนการสอนได้ค่อนข้างง่าย เพราะเป็นการเรียนแบบครูเป็นศูนย์กลาง
2.ประเมินผลได้ง่าย
3.นักเรียนจำเนื้อหาได้ง่าย เนื่องจากแต่ละวิชาแยกออกจากกัน
4.เน้นเนื้อหา ความจำ
จุดด้อย
2.นักเรียนไม่ได้มีส่วนร่วมภายในห้องเรียนเท่าที่ควร
1.การที่หลักสูตรเป็นแบบเน้นเนื้อหาและความจำเป็นหลัก ทำให้นักเรียนจะไม่มีการได้พัฒนาทักษะด้านการคิดวิเคราะห์เท่าที่ควร
ลักษณะ
เน้นสอนและประเมิน เนื้อหาวิชา สาระความรู้
เนื้อหาแต่ละวิชาแยกออกจากกัน ไม่เกี่ยวข้องกัน
เน้นที่ผลการเรียนรู้ โดยที่หลักสูตรเปลี่ยนเมื่อเนื้อหาวิชาเปลี่ยน
ครูเป็นศูนย์กลาง
หลักสูตรกว้าง/หลักสูตรหมวดวิชา (broad field curriculum)
จุดเด่น
1.มีการเชื่อมโยงเนื้อหาแต่ละวิชาที่ใกล้เคียงกัน
2.หลักสูตรมีขอบเขตที่กว้างมากยิ่งขึ้น ทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างหลากหลาย
3.มีการวัดและประเมินผลที่ง่าย
จุดด้อย
1.นักเรียนยังไม่มีการเรียนรู้ทักษะด้านคิด วิเคราะห์เท่าที่ควร เนื่องจากครูยังเป็นศูนย์กลาง
2.การมีขอบเขตที่กว้างขึ้นผู้สอนต้องมีความรู้ที่มากพอ
3.ผู้เรียนได้เรียนรู้เนื้อหานั้นก็จริงแต่ยังไม่ลึกซึ้งเท่าที่ควร
ลักษณะ
ผสมผสานความรู้โดยที่รวมเนื้อหาวิชาที่ใกล้เคียงกันเข้าด้วยกัน
จุดมุ่งหมายของหลักสูตรมีขอบเขตกว้างขึ้น
ครูเป็นศูนย์กลางและถ่ายทอดเนื้อหาสาระ
ประเมินความรู้เป็นหลัก
หลักสูตรแบบแกนกลาง/หลักสูตรแบบแกน (core curriculum)
ลักษณะ
สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
คำนึงถึงสังคม ผู้เรียนแก้ปัญหา เข้าใจสังคม
เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ประเมินพัฒนาการทุกด้าน
จุดเด่น
1.เน้นผู้เรียนเป็นหลัก
2.ผู้เรียนสามารถแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง
3.มีการวัดและประเมินผลที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น
4.ผู้เรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียนมากขึ้น
จุดด้อย
1.ผู้สอนจัดการเรียนการสอนค่อนข้างยาก
2.เนื้อหาที่เรียนมีจำนวนมาก
3.ผู้เรียนแต่ละคนมีพื้นฐานไม่เท่ากัน ทำให้การเรียนรู้ไม่เท่ากันอีกทั้งการกำหนดจุดมุ่งหมายยังยากอีกด้วย
หลักสูตรแบบเอกัตบุคคล (individualized curriculum)
จุดเด่น
1.เน้นผู้เรียนรายบุคคล
2.ผู้เรียนสามารถพัฒนาศักยภาพที่ตนเองมีความสนใจและถนัดได้ดียิ่งขึ้น
3.ผู้เรียนมีการพัฒนาอย่างเต็มที่
4.ผู้สอนดูแลได้อย่างทั่วถึง
จุดด้อย
1.ต้องใช้บุคลากรจำนวนมาก
2.ผู้สอนต้องมีความรู้และศักยภาพในด้านนั้นอย่างแท้จริง
3.ใช้งบประมาณจำนวนมาก อาจจะไม่สามารถทำได้ในทุกโรงเรียน
ลักษณะ
ตามความต้องการ ความสนใจ ความสามารถของผู้เรียน
ให้ความสำคัญกับผู้เรียนรายบุคคล
ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองอย่างอิสระ
จัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบเดี่ยว/กลุ่ม
หลักสูตรแบบบูรณาการ (intergrated curriculum)
จุดเด่น
1.ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะได้หลากหลายมากยิ่งขึ้น
2.แต่ละวิชามีการเชื่อมโยงกัน
3.ผู้เรียนจะได้รับประสบการณ์ตรงจากกระบวนการเรียนรู้และสามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้
4.มีการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความคิดสร้างสรรค์
จุดด้อย
1.ครูผู้สอนต้องมีศักยภาพและมีความรู้ที่มากพอที่จะจัดการเรียนการสอน
2.การวัดและประเมินผลทำได้ค่อนข้างยาก
3.มีการเรียนรู้แต่ละวิชาแต่ไม่รู้อย่างลึกซึ้ง
ลักษณะ
เนื้อหาของวิชาหลอมรวมกัน ทำให้เอกลักษณ์ของแต่ละวิชาหมดไป
ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ต่อเนื่อง/พัฒนาผู้เรียนทุกด้าน
เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ประเมินพัฒนาการทุกด้าน
หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม (social s and life function curriculum)
จุดเด่น
1.ผู้เรียนได้นำความรู้ที่เรียนมาสามารถนำมาลงมือปฏิบัติได้จริง
2.หลักสูตรมีความยืดหยุ่นเปลี่ยนไปตามสภาพสังคม
3.สามารถผลิตผู้เรียนให้เป็นคนดีและเป็นบุคลากรที่ดีของสังคมได้
จุดด้อย
1.การจัดการเรียนการสอนค่อนข้างยาก เนื่องจากต้องจัดตามสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงค่อนข้างบ่อย
2.อาจเกิดการเหลื่อมล้ำทางการเรียนได้
3.การวัดและประเมินผลยาก
ลักษณะ
ยึดชีวิตจริงของผู้เรียนและสังคมเป็นหลัก
ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
ครูให้คำปรึกษาและประเมินผลการเรียนรู้ทุกด้าน
หลักสูตรประสบการณ์ (experience curriculum)
จุดด้อย
1.ใช้งบประมาณจำนวนมาก
2.การจัดการเรียนการสอนค่อนข้างยาก เพราะผู้เรียนแต่ละคนมีพื้นฐานไม่เท่ากัน
ลักษณะ
เน้นการแก้ปัญหา / learning by doing
เน้นประสบการณ์และกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
ประเมินพัฒนาการของผู้เรียนทุกด้าน
จุดเด่น
1.ผู้เรียนได้รู้จักและเรียนรู้ในการลองผิด ลองถูกด้วยตนเอง จึงทำให้ได้เรียนรู้ประสบการณ์และเข้าใจสิ่งนั้นได้อย่างแท้จริง อีกทั้งยังสามารถแก้ไขปัญหาเองได้
2.มีการคำนึงถึงความแตกต่างของแต่ละคน
หลักสูตรกระบวนการ (the process approach curriculum)
ลักษณะ
เน้นวิธีการมากกว่าเนื้อหารายวิชา
มุ่งพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้
ผู้เรียนคิด ค้นคว้าหาความรู้ ฝึกปฏิบัติ
หลักสูตรการศึกษาผู้ใหญ่ กรมการศึกษานอกโรงเรียน
จุดด้อย
1.การวัดและประเมินผลจะค่อนข้างยาก
2.ความรู้ในด้านวิชาการจะไม่ค่อยมี เนื่องจากเป็นหลักสูตรที่เน้นกระบวนการและลงมือปฏิบัติ
จุดเด่น
1.ผู้เรียนได้มีการลงมือปฏิบัติ ทำให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้เรียนมาไปใช้ได้จริง
2.มีการคิดเป็นลำดับขั้นตอน
3.เน้นปฏิบัติ สามารถนำไปประกอบอาชีพได้
4.เปิดโอกาสให้ผู้เรียนที่สนใจสามารถเรียนได้
หลักสูตรเกณฑ์ความสามารถ/ฐานสมรรถนะ (the competency –based curriculum)
จุดเด่น
1.การวัดและประเมินได้ง่ายยิ่งขึ้น
2.มีการพัฒนาผู้เรียนครบทุกด้าน
3.สามารถแก้ปัญหาในเรื่องความไม่เสมอภาคได้
4.การจัดการเรียนการสอนเป็นตามแบบแผนที่วางไว้
จุดด้อย
2.ผู้เรียนที่มีพื้นฐานความรู้ไม่เท่ากันกัน ทำให้มีการพัฒนาที่ไม่เท่ากัน
1.จัดทำหลักสูตรยาก
ลักษณะ
มุ่งพัฒนาทักษะ ความสามารถ เจตคติ และค่านิยม
ผู้จบการศึกษาจะมีทักษะ ความสามารถตามที่ต้องการ
ความรู้เนื้อหาอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามกาลเวล
กำหนดทักษะความสามารถของผู้เรียนแต่ละชั้นอย่างต่อเนื่อง
นางสาวประกายกานต์ จันทรทิพย์ 61102010468 SC3ED5