Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่3, กระตุ้นให้ลูกดูดนมทุก 2-3ชั่วโมง - Coggle Diagram
กรณีศึกษาที่3
การพยาบาลมารดาทารกหลังคลอดปกติ
มารดา อายุ32ปี คลอดบุตรคนที่4
2วันหลังคลอด
น้ำนม
ปวดมดลูกขณะดูดนม
Normal
กระตุ้น Posterior pituitary gland
หลั่ง Oxytocin
น้ำนมไหล2ข้าง
1 more item...
มดลูกหดรัดตัว
2 more items...
ทารกดูดนมข้างซ้ายมีน้ำนมไหลจากข้างขวา
2วันหลังคลอด
Colostrum
มีเเคโรทีน เเละโปรตีนช่วยสร้างภูมิคุ้มกัน
มารดาไม่อยากให้ลูกดูดนมเหลือง
ให้คำเเนะนำ
จิตสังคม
มารดา
วิตกกังวล หงุดหงิดง่าย บางครั้งร้องไห้คนเดียว
มีอาการไม่เกิน2 week
Postpartum blue
มีอาการเกิน2 week
Postpartum depression
Postpartum psychosis
เมื่อพยาบาลสอนอาบน้ำทารก
มารดากลัวลูกจมน้ำ
การพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดาทารก
5 more items...
บิดา
ส่งเสริม
เข้าใจมารดาหลังคลอด
เเบ่งเบาภาระ นการดูเเลบุตร
ปรับเปลี่ยนบทบาทการเป็นพ่อ
มดลูก
Uterine involution
1-2วัน ลอยอยู่เหนือหรือต่ำกว่าสะดือ 1นิ้ว
1week มดลูกกลมเเข็งอยู่ระดับกึ่งกลางสะดือ-หัวหน่าว
2 week ลงเข้าไปอยู่ในอุ้งเชิงกราน คลำไม่ได้ทางหน้าท้อง
4 week ลงเข้าไปอยู่ในโพงมดลูก
มดลูกกลมเเข็งต่ำกว่าระดับสะดือ1นิ้ว
Lochia
สีเเดงจางๆ
Normal
1-3วัน = Lochia rubra
เลือดสด อาจมีลิ่มเลือด
4-9วัน =
สีน้ำตาล ไม่พบลิ่มเลือด
10วัน =
สีใส เหลือง
วันเเรกหลังคลอด
กระเพาะปัสสาวะ
คลำพบลอนนิ่มบริเวณระดับสะดือ
Normal
จาก Bladder full
ไม่ถ่ายใน 6-8ชั่วโมง
สวน
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ตกเลือด
Vital sign
BP 120/88 mmHg = Normal
RR 18bpm = Normal
PR 100 bpm = Normal
BT 38 องศา
Reactionary tever
การพยาบาล
กระตุ้นดื่มน้ำบ่อยๆ
เช็ดตัวลดไข้
เเม่หลังคลอดสูญเสียน้ำ เลือด และพลังงานจาการคลอด
Pain scre 7 คะเเนน
Moderate pain
การพยาบาล
ไม่ใช้ยา
นอนตะเเคงซ้าย
หลีกเลี่ยงการนั่งขัดสมาธิ
ประคบเย็นใน24 hr เเรก หลังจากนั้นประคบร้อน
ใช้ห่วงยางเล็กๆรองนั่ง
ใช้ยา
ตามเเนการรักษา
ฝีเย็บบวมเเดงเล็กน้อย
การประเมิน
จากเคส
Ecchymosis 2คะเเนน
Edema 2คะเเนน
Discharge 0คะเเนน
Rednedd 0คะเเนน
Approximation 0 คะเเนน
ฝีเย็บบวมเเดงเล็กน้อย 2คะเเนน
3 วันหลังคลอด
ข้อวินิจฉัย: เด็กมีภาวะตัวเหลืองเนื่องจากได้รับนมเเม่ไม่เพียงพอ
การพยาบาล
ดูเเลให้ได้รับนมเเม่อย่างเพียงพอ
ชั่งน้ำหนักทารกวันละ1ครั้ง
ข้อวินิจฉัย: มารดามีภาวะเต้านมคัดตึง
การพยาบาล
ให้ลูกดูดนมบ่อยๆทุก 2-3ชั่งโมง
หากทารกไม่ดูด ให้ประคบอุ่น เเล้วนวดเบาๆก่อนปั๋มออก
ข้อวนิจฉัย: มารดามีภาวะหัวนมเเตก
การพยาบาล
ให้ลูกดูดนมข้างที่ไม่เเตกหรือเจ็บน้อยกว่าก่อน
เอาน้ำนมมาทาเเผล
หากเจ็บมาก ให้ปั๊มใส่ขวดนม
สังเกตการดูดนมลูกเพื่อประเมินเเละเเก้ไข
ข้อวินิจฉัย: มารดาเสี่ยงต่อภาวะเต้านมอักเสบ
การพยาบาล
ให้มารดาใส่ยกทรงที่พอดีกับตัว ไม่รัดเกินไป
ถ้าเต้านมอักเสบไม่รุนแรง ให้ทารกดูดนมเพื่อระบายออก
หากเปผ้นฝีที่เต้านม ควรงดให้ทารกดูดนมข้างนั้น24-48ชั่วโมง จนกว่าจะระบายหนองออก เเละให้ยาปฏิชีวนะ
6 week หลังคลอด
ข้อวินิจฉัย: ทารกมีการสับสนหัวนมเนื่องจากมารดาได้ดื่มนมเเม่กับนมผสมสลับกัน
การพยาบาล
งดขวด จุกนมยาง จุกนมหลอก
ปั๊มนมหรือกระตุ้นให้น้ำนมให้พุ่งก่อนให้ทารกดื่ม ทารกจะยอมรับเต้านมเเม่ง่ายขึ้น
น้ำนม
ภายหลังคลอด 45นาที พยาบาลนำทารกเเรกเกิดไปดูดนมเเม่
เหมาะสม
30-60นาทีเเรกหลังคลอด ทารกจะไวต่อความรู้สึก (sensitive period)
หลักการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมเเม่
ให้เเม่เเละลูกอยู่ด้วยกันตลอด 24ชั่วโมง
สนับสนุนให้ลูกได้ดูดนมเเม่ทุกครั้งที่ลูกต้องการ
6.อย่าให้ น้ำ นมผสม หรือาหารอื่นเเก่ทารก
อย่า ห้ลูกดูดนมจุกยาง หรือหัวนมปลอม
ให้เเม่รู้วิธีเลี้ยงลูกด้วยนมเเม่
ส่งเสริมให้มีการจัดตั้งกลุ่มสนันสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมเเม่
ช่วยเเม่เริ่มให้ลูกดูดนมภายใน 30นาทีเเรกหลังคลอด
มีนโยบายการเลี้ยงลูกด้วยนมเเม่เป็นลายลักษณ์อักษร
ชี้เเจงให้หญิงตั้งครรภ์ทุกคนทราบถึงประโยชน์ของการเลี้ยงลูกด้วยนมเเม่
ฝึกอบรมบุคลาการทางการเเพทย์ให้มีทักษะ
กลไกการสร้างเเละหลั่งน้ำนม
Lactogenosis II
เกิดภายหลังคลอด
รกคลอด
Estrogen, Progesterone ลดลง
ไม่มี PIF
1 more item...
กระตุ้นให้บุตรดูดนม
Posterior pituitary gland
1 more item...
Anterior pituitary gland
1 more item...
Lactogenosis III
บุตรดูดนมสม่ำเสมอ
Mature milk
ไม่ดูดนม
Oxytocin ลดลง
Prolactin ลดลง
น้ำนมไม่สร้างเเละไม่ไหล
Lactogenosis I
ตั้งครรภ์- 28Week
สร้าง Cllostrum
Estrogen, Progerterone เพิ่มขึ้น
1 more item...
การเตรียมมารดาให้ทารกเเรกเกิดได้รับนมเเม่
ดูดบ่อย 2-3ชั่วโมง
ดูกนมถูกวิธี
ให้ลูกดูดนมเร็ว โดยให้เร็วที่สุดหลังคลอด
ดูดจนเกลี้ยงเต้า
กระตุ้นให้ลูกดูดนมทุก 2-3ชั่วโมง