Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบกระบวนการยุติธรรมไทย - Coggle Diagram
ระบบกระบวนการยุติธรรมไทย
กระบวนยุติธรรมไทยในอดีต
สมัยอยุธยา
เป็นระบบกว่าสุโขทัย มีการจัดตั้งศาลเพื่อพิจารณาคดีต่างๆซึ่งกระจายกันอยู่ตามตัวกระทรวง ใช้กฏจารีตนครบาลในการพิสูจน์ความจริง
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
-
ร.5
เริ่มมีการปฏิรูปกฎหมายและ การศาล โดยรวมศาลที่เคยอยู่ในกระทรวงต่าง ๆมาอยู่ใน กระทรวงยุติธรรม โดยมีศาลยุติธรรมเป็นศาลเดียวที่ทำ หน้าที่ในการพิจารณาคดี และมีการยกเลิกการพิจารณาคดี ในระบบไต่สวนโดยใชว้ิธีกล่าวหาแทน และมีการยกเลกิวิธี จารีตนครบาลในสมัยนั้นไดืประกาศใชกฎหมายหลายฉบับโดยนำหลักการพิจารณาคดีและการสืบพยาน ของศาล ต่างประเทศ โดยเฉพาะองักฤษมาใช้
สมัยสุโขทัย
ปกครองแบบพ่อปกครองลูก ไม่มีระบบกฏหมายที่ชัดเจน แต่เมื่อราษฎรมีข้อพิพาทกันก็สามารถไปสั่นกระดิ่งที่แขวนไว้ที่หน้าประตูเพื่อให้พระมหากษัตริย์สอบสวนและตัดสินความได้
ปัจจุบัน
สมัยรัชกาลที่ 5 เริ่มจัดทำประมวลกฎหมายแบบประเทศยุโรปโดยเริ่มจัดทำประมวลกฎหมายอาญาเป็นฉบับแรก และได้มีการจัดทำประมวลกฎหมายอื่น ๆ ต่อมา จนมีประมวลกฎหมายที่สำคัญครบทั้ง 5 ฉบบัได้แก่ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายวิธีพจิารณาความแพ่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และพระธรรมนูญศาลยุติธรรม
-
กระบวนยุติธรรมอื่น
องค์กรวินิจฉัยอิสระ
-
- คณะกรรมการการเลือกตั้ง
- คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
-
-