Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ใบกิจกรรมที่ 3 วิธีการ/ กลยุทธ์ - Coggle Diagram
ใบกิจกรรมที่ 3
วิธีการ/ กลยุทธ์
แนวคิดเมเยอร์
เนื้อหาที่แก้ปัญหา
อสมการ
ขั้นตอนในการแก้ปัยหารประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้
1.ทักษะการแปลโจทย์คณิตศาสตร์
2.ทักษะการบูรณาการความรู้
3.ทักษะการดำ เนินการตามแผน
4.ทักษะวางแผนการแก้ปัญหา
ม.3
4 MAT
เนื้อหาที่แก้ปัญหา
ทักษะกระบวนการทางคณิตสาตร์
ป.4
ขั้นตอนในการแก้ปัญหาประกอบด้วย 8 ขั้นตอนดังนี้
ขั้นที่ 1 การสร้างประสบการณ์
ขั้นที่ 2 การวิเคราะห์ประสบการณ์
ขั้นที่ 3 การพัฒนาประสบการณ์เป็นความคิดรวบยอดหรือแนวคิด
ขั้นที่ 4 การพัฒนาความรู้ความคิด
ขั้นที่ 5 การปฏิบัติตามแนวคิดที่ได้เรียนรู้
ขั้นที่ 6 การสร้างสรรค์ชิ้นงานของตนเอง
ขั้นที่ 7 การวิเคราะห์ผลงานและแนวทางในการนำไปประยุกต์ใช้
ขั้นที่ 8 การแลกเปลี่ยนความรู้ความคิด
การจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค K-W-D-L
เนื้อหาที่แก้ปัญหา
โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหาร และการบวก ลบ คูณ หารระคนของ ทศนิยม
ป.6
โจทย์ปัญหาเศษส่วน ทศนิยม และทักษะและกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์
ป.6
เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาโดยการใช้บัญญัติไตรยางศ์
ป.6
การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์
ป.6
ขั้นตอนในการแก้ปัญหา ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นที่ 1 K (What We Know) : เรารู้อะไรหรือ โจทย์บอกอะไรเราบ้าง
ขั้นที่ 2 W (What We Want to Know) : เราต้องการรู้ ต้องการทราบอะไร
ขั้นที่ 3D (What We Do) : เราทำอะไร อย่างไร หรือเรามีวิธีการอย่างไรบ้าง
ขั้นที่ 4 L (What We Learned) : เราเรียนรู้ อะไรบ้าง
รูปแบบ SSCS
เนื้อหาที่แก้ปัญหา
โจทย์ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ม.1
ความน่าจะเป็น
ม.3
ขั้นตอนในการแก้ปัญหา ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นที่ 1 Search: S หมายถึง ขั้นกิจกรรมที่จัด ให้ผู้เรียนได้ค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหาและแยกแยะประเด็นของปัญหารวมถึงการแสวงหาข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับปัญหา โดยครูคอยช่วยเหลือและแนะนํา
ขั้นที่ 2 Solve: S หมายถึง ขั้นกิจกรรมที่จัดให้ผู้เรียนคิดวางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา ด้วยวิธีการต่าง ๆ หรือการหาคําตอบของปัญหาที่ต้องการ
ขั้นที่ 3 Create: C หมายถึง ขั้นกิจกรรมที่จัดให้ผู้เรียนนําผลที่ได้ จากการดำเนินการในขั้นที่ 2 มาจัดกระทําเป็นขั้นตอนเพื่อให้ง่ายต่อความเข้าใจและเพื่อสื่อสารกับคนอื่นได้
ขั้นที่ 4 Share: S หมายถึง ขั้นกิจกรรมที่จัดให้ผู้เรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับขั้นตอนหรือวิธีการที่ใช้ในการแก้ปัญหาทั้งของ ตนเองและผู้อื่น
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน
เนื้อหาที่แก้ปัญหา
เรื่องโจทย์ปัญหาการบวกและการลบ
ป.1
ขั้นตอนในการแก้ปัญหา ประกอบด้วย5 ขั้นตอนดังนี้
1.ขั้นกำหนดหัวเรื่องในการทำโครงงาน
2.ขั้นออกแบบและวางแผนการทำโครงงาน
3.ขั้นลงมือทำโครงงาน
4.ขั้นวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล
5.ขั้นเขียนรายงานและแสดงผลงาน
การจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน
( BBL )
เนื้อหาที่แก้ปัญหา
เศษส่วน
ป.5
ขั้นตอนในการแก้ปัญหาประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้
1.Brain Gym/ Brain BreakBrain Gym/ Brain Break
Brain Gym เน้นกิจกรรมที่ เคลื่อนไหวร่างกายแบบต่างๆ เพื่อ กระตุ้นสมองน้อย สมองซีกขวาและ ซ้าย ให้ทำงานสัมพันธ์กัน • Brain Break : เป็นกิจกรรมกระตุ้น สมอง ให้ผ่อนคลายและตื่นตัว ควรใช้ เวลา 5-6 นาที
2.Present ขั้นนำเสนอข้อมูลความรู้
3.Learn-Practice ขั้นลงมือเรียนรู้ ฝึกทำและฝึกฝน
4.Summary ขั้นสรุปความรู้
Apply ขั้นประยุกต์ใช้ความรู้
คอนสตรัคติวิสต์
เนื้อหาที่แก้ปัญหา
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ม.3
การแก้โจทย์ปัญหาการคูณหารระคน
ป.2
ทศนิยมและเศษส่วน
ม.1
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ม.3
ขั้นตอนในการแก้ไขปัญหาประกอบด้้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นที่1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
ขั้นที่ 2. ขั้นสอน
ขั้นที่ 3. ขั้นสรุปนักเรียนร่วมกันสรุปหลักการและกระบวนการแก้ปัญหา
ขั้นที่ 4. ขั้นฝึกทักษะและนำไปใช้ เป็นขั้นที่ให้นักเรียนฝึกทักษะจากใบงานที่ครูผู้สอนสร้างขึ้น
ขั้นที่ 5. ขั้นประเมินผล ขั้นนี้จะประเมินผลจากการทำใบงาน จากการทำแบบฝึกหัดในบทเรียนและจากสถานการณ์ที่นักเรียนสร้างขึ้น
โพลยา
เนื้อหาที่แก้ปัญหา
โจทย์ปัญหาการบวกและการลบ
ป.2
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ม.2
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
ม.3
ขั้นตอนในการแก้ปัญหา ประกอบด้วย4 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นที่1 การทำความเข้าใจปัญหา
ขั้นที่2 การวางแผนแก้ปัญหา
ขั้นที่3 การดำเนินการแก้ปัญหา
ขั้นที่4 การตรวจสอบคำตอบ
รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหา ความรู้ (5ES)
เนื้อหาที่แก้ปัญหา
การแยกตัวประกอบพหุนาม ดีกรีสอง
ม.2
ขั้นตอนในการแก้ปัญหาประกอบด้วย 5 ขั้นตอนดังนี้
ขั้นที่1 สร้างความสนใจ (Engagement) เป็นการนำเข้าสู่ บทเรียนหรือเรื่องที่สนใจ
ขั้นที่2 สำรวจและค้นหา (Exploration) เป็นขั้นที่มีการวางแผนกำหนดแนวทางสำรวจตรวจสอบ ตั้งสมมติฐาน
ขั้นที่3 อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) นำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจตรวจสอบมาแล้ว มา วิเคราะห์แปลผล สรุปผลและนำเสนอผลที่ได้ในรูปต่าง
ขั้นที่4 ขยายความรู้(Elaboration) เป็นการนำความรู้ที่สร้างขึ้น ไปเชื่อมโยงกับความรู้เดิม
ขั้นที่5 ประเมิน (Evaluation) เป็นการประเมินการเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่างๆ ว่านักเรียนมี ความรู้อะไรบ้างอย่างไร มากน้อยเพียงใด จากขั้นนี้ จะเป็นการนำ ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในเรื่องอื่นๆ
เทคนิค STAD
เนื้อหาที่แก้ปัญหา
เศษส่วนพหุนาม
ม.2
ขั้นตอนในการแก้ไขปัญหา ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นที่ 1 การนำาเสนอบทเรียน (Class Presentation) เป็นการแนะนำบทเรียนเบื้องต้น โดยครูเป็นผู้นำเสนอสิ่งที่นักเรียนต้องการเรียนด้วยวิธีแบบต่าง ๆ
ขั้นที่ 2 การทำงาน เป็นทีม (Teams) ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆ
ขั้นที่ 3 การทดสอบย่อย (Quizzes) หลังจากที่นักเรียนในแต่ละกลุ่ม ทำางานเสร็จเรียบร้อยแล้ว ครูให้นักเรียนทำาแบบทดสอบย่อย โดยให้นักเรียนต่างคน ต่างทำแบบทดสอบเพื่อเป็นการประเมินความรู้ที่นักเรียนได้เรียนมา
ขั้นที่ 4 คะแนน พัฒนาการของนักเรียนแต่ละคน (Individual Improvement Score) คะแนน พัฒนาการของนักเรียน จะเป็นตัวกระตุ้นให้นักเรียนทำงานหนักมากขึ้น ในการทดสอบ แต่ละครั้งครูจะมีคะแนนฐาน (Bas Score) และคะแนนพัฒนาการของนักเรียน
ขั้นที่ 5 การรับรองผลงานของกลุ่ม (Team Recognition) เป็นการประกาศคะแนน กลุ่มให้แต่ละกลุ่มทราบ พร้อมกับ ให้คำชมเชย หรือให้ประกาศนียบัตร
กลวิธีการแก้ปัญหา STAR
เนื้อหาที่แก้ปัญหา
พื้นที่ผิวและปริมาตร
ม.3
ขั้นตอนในการแก้ปัญหาประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นที่ 1 S (Search the word problem) ศึกษาโจทย์ปัญหา
ขั้นที่ 4 R (Review the solution) ทบทวนคำตอบว่า สอดคล้องกับข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดในโจทย์ปัญหาหรือไม่
ขั้นที่ 2 T (Translate the problem) แปลงข้อมูลที่มีอยู่ใน โจทย์ปัญหาไปสู่สมการในแบบรูปภาพหรือสมการทางคณิตศาสตร์
ขั้นที่ 3 A (Answer the problem) หาคำตอบของโจทย์ปัญหา