Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Deep Vein Thrombosis, นางสาววัชราภรณ์ เสนานิมิต เลขที่ 46 ห้อง 2B,…
Deep Vein Thrombosis
-
การป้องกันการเกิด
ลุกขึ้นเดินทุก 1-2 ชั่วโมง พยายามไม่นั่งไขว้ขา และหมั่นเหยียดขาเพื่อช่วยให้เลือดไหลเวียนได้สะดวกขึ้น
-
-
-
สาเหตุของการเกิด
-
ปัญหาสุขภาพ เช่น โรคมะเร็ง โรคแพ้ภูมิตัวเอง โรคอ้วน ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง และภาวะที่ส่งผลให้ความเข้มข้นของเลือดสูงขึ้น
-
การรักษา
-
รักษาด้วยการผ่าตัด ถ้ารักษาด้วยยาไม่ดี โดยเฉพาะมีอาการปวดขณะพัก เช่น ผ่าตัดตัดต่อหลอดเลือดโดยตรง (Direct Anastomosis) หรือตัดหลอดเลือดแล้วใส่ graft เข้าไปแทนทีหรือเปลี่นทางเดินเลือด
ใหม่ (Bypass Graft)
ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ
ลิ่มเลือดไปอุดหลอดเลือดในปอด หากมีโรคแทรกซ้อนนี้จะมีอาการเจ็บหน้าอก หายใจหอบซึ่งเป็นภาวะที่อันตรายมาก
-
-
-
ผู้ป่วยลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำอุดตันแบบ DVT อาจเสี่ยงต่อภาวะหลังหลอดเลือดตีบ ซึ่งเกิดจากลิ่มเลือดเข้าทำลายลิ้นหลอดเลือดดำจนทำให้อัตราการไหลเวียนเลือดลดลง
พยาธิสภาพ
พบได้ตั้งแต่หลอดเลือดดําที่น่อง (isolated calf vein thrombosis) ที่มีอาการน้อยมากไปจนถึงอาการปวดบวมแดงขาบริเวณหลอดเลือดดําใหญ่ที่ ileofemoral vein อย่างมากก็ได้ Proximal DVT คือภาวะหลอดเลือดดําอุดตันใน popliteal vein หรือหลอดเลือดดําที่อยู่สูงกว่าเข่าขึ้นไป สําหรับ distal DVT คือภาวะหลอดเลือดดําอุดตันใน calf vein ซึ่งเป็นหลอดเลือดดําที่อยู่ต่ํากว่าเข่าลงไป พบว่า distal clot มักมีการสลายก้อนเลือดที่อุดได้เองแต่ก็มีโอกาสก่อลิ่มเลือดอุดตันลามขึ้นไปเป็น proximal DVT ได้ 20%
อาการ
ผู้ป่วยภาวะลิ่มเลือดอุดตันแบบ DVT อาจมีอาการปวด บวมแดง และรู้สึกร้อนบริเวณขาหรืออวัยวะที่มีลิ่มเลือดอุดตัน
-
-
-
-
Thrombosis หมายถึง การเกิดลิ่มเลือด (Blood clot) ภายในหลอดเลือดและการเกาะติดที่ด้านในของผนัง
หลอดเลือด
-
เนื่องจากได้รับการรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือดเสี่ยงต่อการเกิดภาวะเลือดออกง่ายหยุดยากต้องคอยสังเกตอาการเลือดออกตามร่างกายเช่นจุดจ้ำเลือด เลือดออกตามไรฟัน ปัสสาวะ และอุจจาระ