Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทารกตายในครรภ์ (Death Fetus in Utero) - Coggle Diagram
ทารกตายในครรภ์
(Death Fetus in Utero)
ความหมาย
ทารกเมื่อคลอดแล้วไม่มีอาการแสดงของชีวิต ได้แก่ ไม่มีการหายใจเอง ไม่มีการเต้นของหัวใจ และไม่มีการเคลื่อนไหว อาจรวมถึงทารกที่คลอดออกมาเสียชีวิตทันที
ประเภท
1) Fetal death in utero เสียชีวิตก่อนเจ็บครรภ์คลอด
2) Intrapartum fetal death เสียชีวิตในระยะคลอด
สาเหตุ
สาเหตุ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม
1) สาเหตุจากทารกในครรภ์ ร้อยละ 25-40
-ความผิดปกติทางโครโมโซม พบร้อยละ 8-13 สาเหตุส่วนใหญ่เป็น monosomy X , trisomy 21,18 และ13
-ความพิการแต่กำเนิด ร้อยละ 15-20 จะมีความผิดปกติที่รุนแรงและเห็นได้ชัด เช่น neural tube defect, complex heart disease เป็นต้น
-สาเหตุอื่นๆ เช่น คลอดก่อนกำหนด birth asphyxia ภาวะโตช้าในครรภ์ชนิดรุนแรง ทารกบวมน้ำ การติดเชื้อในครรภ์ เช่น viruses, bacteria, protozoa
2) สาเหตจากรก
-ภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด การติดเชื้อในโพรงมดลก อาจเป็นchorioamnionitis TORCH ภาวะเสนเลือดอุดกั้นในสายสะดือ (umbilical cord thrombosis) การเกาะของสายสะดือที่ผิดปกติ เช่น velamentous cord insertion หรือ vasa previa
-สายสะดือผิดปกติ เช่น knot หรือ entanglement ซึ่งพบได้ร้อยละ 30
3) สาเหตุจากมารดา
-อายุมากกวา 35 ปี ซึ่งเพิ่มความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ
-โรคทางอายุรกรรม เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคไตชนิดรุนแรง โรคต่อมธัยรอยด์ Thrombophilias หรอAntiphospholipid syndrome โรคอ้วน โรคติดเชื้อต่างๆ เป็นต้น
-ภาวะทางสูติกรรม เช่น คลอดกอนกำหนด ปัญหาระหว่างรอคลอด อาจเกิดภาวะ
ทารกคับขัน(fetal distress) การคลอดติดขัด เสียเลือดมากก่อนคลอดหรือระ่งคลอด มดลูกแตก รกลอกตัวก่อนกำหนด ตั้งครรภ์เลยกำหนด เป็นต้น
-ภาวะอื่นๆ เช่น ยาหรือสารเสพติด บุหรี่ เป็นต้น
ภาวะเเทรกซ้อน
ภาวะเเทรกซ้อนต่อมารดา
ภาวะทางจิตใจผิดปกติ มีความรู้สึกสูญเสีย หมดกำลังใจ อาจจะกลายเป็นโรคจิตประสาท
ความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือดได้ (consumptive
coagulopathy) หรือ Disseminated intravascular coagulation(DIC) ซึ่งพบประมาณร้อยละ 25 ของผู้ป่วยที่ทารกตายในครรภ์หลัง 1 เดือนไปแล้ว (missed abortionหรอ retained dead fetus in utero)
ทารกอาจจะแข็งกลายเป็นหิน (Lithopedian) ไม่คลอด
โพรงมดลูกเสียหาย ตั้งครรภ์ต่อไม่ได้
ความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือด : ถ้าทารกตาย
ในครรภ์นานกจะเกิดปัญหา
ภาวะเเทรกซ้อนต่อทารก
ภาวะแทรกซ้อนต่อทารก เสียชีวิตในครรภ์
การรักษา
1) รอให้เจ็บครรภ์และคลอดเอง ประมาณ 90 % ของ DFIU ภายใน 1 เดือนจะเจ็บครรภ์ ซึ่งถ้า DFIU > 2 wks. ควรตรวจเลือดเพื่อดู clotting time และ fibrinogen ทุกสัปดาห์ ถ้าพบว่าระดับ fibrinogen < 100 mg.% ต้องทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลง
2) การทำให้ครรภ์สิ้นสุุดลง สามารถทำได้หลายวิธี กล่าวคือ
2.1) ให้ oxytocin โดยให้syntocinon เข้มข้น เช้น 20 หน่วยใน 5 % in N/2 1000 ml.IV dripจะได้ผลดีถ้าปากมดลูกเปิดแล้ว 2-3 เซนติเมตร มีความบาง 50% และจะได้ผลดียิ่งขึ้นถ้าเจาะถุงน้ำคร่ำก่อนให้
2.2) ฉีดน้ำยาเข้มข้นเข้าถุงน้ำคร่ำ
ทางหน้าท้อง (amnioinfusion) น้ำยาที่ใช้เป็น hypertonic solution
เช่น 20 % sodium chloride 1 50% glucose 1 prostaglandin F 2
3) ในรายที่มีภาวะเลือดไม่แข็งตัว การใช้ heparin จะได้ผลดี แต่ต้องระวังและต้องรักษาร่วมกับแพทย์ผู้ชำนาญการรักษาโรคเลือด เมื่อทารกเกิดแล้วกลไกการแข็งตัวของเลือด และระบบต่าง ๆ จะปรับตัวเข้าสู่ภาวะปกติ มีข้อควรระวัง คือการใช้ heparin อาจำทให้เลือดออกมากขึ้น แก้ไขโดยให้เลือดและ Lactate ringer solution ภาวะแทรกซ้อน ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นเนื่่องจากทารกตายในครรภ์
3.1) หญิงตั้งครรภ์มีความกลัว วิตกกังวล เศร้าโศกจากการสูญเสียทารก บางรายอาจรู้สึกผิดโทษตนเองที่เป็นสาเหตุให้ทารกตาย
3.2) ในรายที่ DFIU > 4 wks. ทำให้เกิดภาวะเลือดไม่แข็งตัว พบประมาณ 25 % เนื่องจากการลดลงของไฟบริโนเจนในเลือด
3.3) มีโอกาสติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ เนื่องจากถุงน้ำคร่าแตกก่อนเวลา
3.4) การหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี ทำให้การคลอดยาวนาน รกค้าง และ PPH