Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 บัญชียาหลักแห่งชาตยาสามัญประจำบ้าน, image, image, image, image,…
บทที่ 10
บัญชียาหลักแห่งชาตยาสามัญประจำบ้าน
1.เกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกยา
1.ระบบการคัดเลือกยาต้องเป็นไปตามความจ าเป็นในการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพของประเทศไทยเป็นหลัก
• 2. ระบบการคัดเลือกต้องแสดงข้อมูลเชิงประจักษ์ที่ละเอียดพอ เอือให้เกิดการใช้ข้อมูลครบถ้วนในการตัดสินใจ มีข้อมูลและเหตุผลชัดเจนทุกขั ้นตอนและอธิบายต่อสาธารณชนได้ (explicit information)หน่วยงานหลายฝ่ ายที่เกี่ยวข้อง รวมทั ้งหลักฐานและความเห็นที่ได้รับจากผู้คัดเลือกร่วมกับความเห็นของผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์/เภสัชศาสตร์/เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข และความเห็นเชิงนโยบายของผู้บริหารใน• การตัดสินใจคัดเลือกยาใช้หลักฐานวิชาการเชิงประจักษ์ (evidencebased literature) หรือการให้คะแนนที่มีประสิทธิผลเป็นหลักในการคัดเลือกยา
การคัดเลือกและแสดงรายการยา ให้ใช้ชื่อสามัญของยา รูปแบบยำความแรง ขนาดบรรจุ ยกเว้นในกรณีที่ไม่ระบุจึงใช้ความแรงและขนาดบรรจุอื่นได้ ทั ้งนี ้ให้ระบุเงื่อนไขการสั่งใช้ยาหรือจัดหายาตามความเหมาะสม รวมทั ้งข้อมูลื่นๆ ที่จ าเป็น ได้แก่ ค าเตือน และหมายเหตุ(คำแนะนำ ข้อสังเกต ข้อควรระวัง คำอธิบาย)
ต้องค านึงถึงข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพยา เช่น รูปแบบยา การเก็บรักษาความคงตัวของยา ขนาดบรรจุ วันหมดอายุ เป็นต้น ตลอดจนข้อมูลอื่นเกี่ยวกับยา เช่น ประสิทธิภาพในการบริหารยาและการยอมรับในการใช้
5.ต้องค านึงถึงข้อมูลเชิงเศรษฐศาสตร์ด้านค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ ้น ราคายาความสามารถในการจ่ายทั ้งของ ระบบประกันสุขภาพต่างๆ สังคมและประชาชน ตลอดจนฐานะเศรษฐกิจของประเทศ
ในกรณีที่ยามีคุณสมบัติครบตามเกณฑ์การพิจารณา แต่ไม่มีการขึ ้นทะเบียนต ารับยา หรือไม่มีจ าหน่ายในประเทศ ให้ก าหนดรายการยาหน่ายในประเทศ ให้ก าหนดรายการยาดังกล่าวไว้ในบัญชียาหลักแห่งชาติ และเสนอเป็นยากำพร้า เพื่อเป็นแนวทางในการก าหนดนโยบายและมาตรการในการแก้ปัญหาการ
กรณียาที่อยู่ระหว่างการติดตามความปลอดภัย (SafetyMonitoring Program: SMP) และข้อบ่งใช้ของยาที่นอกเหนือจากที่ระบุไว้ในเอกสารก ากับยา (offlabel indication)
• 8.ควรเป็นยาเดี่ยว หากจ าเป็นต้องเป็นยาผสมจะต้องมีข้อมูลที่เชื่อถือได้ที่แสดงว่ายาผสมมีข้อดีกว่าหรือ เท่าเทียมกับยาเดี่ยวในด้านความปลอดภัย ประโยชน์และค่าใช้จ่าย นอกจากนี ้ยาผสมจะต้องมีข้อดีกว่ายาเดี่ยว ในประเด็นของ compliance
• 9. หากเป็นยาที่มีหลายข้อบ่งใช้ แต่มีความเหมาะสมที่จะใช้เพียงบางข้อบ่งใช้ ให้ระบุข้อบ่งใช้และเงื่อนไขการสั่งใช้ยาเพื่อให้การใช้ยาดังกล่าวเป็นไปตามขั ้นตอนอย่างเหมาะสม เงื่อนไขการสั่งใช้ต้องมีความชัดเจน เอื ้อต่อการใช้ยาเป็นขั ้นตอนตามระบบบัญชีย่อย ซึ่งแบ่งเป็นบัญชีย่อย ก ข ค ง และ จ
ยาในบัญชี จ (2) มีเกณฑ์การพิจารณาเพิ่มเติมเป็นการเฉพาะกล่าวคือ เป็นยาที่จ าเป็นต้องใช้ส าหรับผู้ป่ วยเฉพาะรายมีจ านวนผู้ป่ วยไม่มากและยามีค่าใช้จ่ายสูงที่ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการจ่ายของรัฐ ซึ่งค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ ้น รัฐสามารถรับภาระค่าใช้จ่ายได้ โดยจัดระบบบริหารจัดการยาที่เหมาะสม
หลักการและวิธีการใช้ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ
• รายการบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2562 ประกอบด้วย
• (๑) บัญชียาส าหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข
“บัญชียาส าหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข”หมายความว่า รายการยาแผนปัจจุบันส าหรับใช้ในโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข ซึ่งประกอบด้วยบัญชีย่อย ๕ บัญชี ได้แก่บัญชี ก บัญชี ข บัญชี ค บัญชี ง และบัญชี จ รวมทั ้งรายการยาเภสัชตeรับโรงพยาบาล
• (๒) บัญชียาจากสมุนไพร
“บัญชียาจากสมุนไพร” หมายความว่า รายการยาจากสมุนไพรที่เป็นยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ และยาพัฒนาจากสมุนไพร ซึ่งมีตัวยาในสูตรตำรับ
เงื่อนไขการสั่งใช้ยา
หากยารายการใดมีหลายข้อบ่งใช้ แต่มีความเหมาะสมที่จะใช้เพียงบางข้อบ่งใช้ หรือมีแนวโน้มว่าจะมีการสั่งใช้ไม่ถูกต้อง จะระบุข้อบ่งใช้ไว้ในเงื่อนไขการสั่งใช้ยา เพื่อเป็นแนวทางสั่งใช้ยาส าหรับแพทย์ รวมทั ้งเป็นข้อมูลส าหรับสถานพยาบาลเพื่อประกอบการจัดระบบก ากับติดตามให้เกิดการใช้ยารายการนั ้น ๆ อย่างสมเหตุผล
หลักการและวิธีใช้ยาสามัญประจำบ้าน
ยาเม็ด (controlled release, sustain release, immediate release,
chewable tablet, film coat, enteric coat(EC), capsule, efervescent)
• ยาฉีด (Sterile solution,Sterile powder)
• ยาน ้า (suspension(susp), mixture(mixt), syrup(syr), oral powder, oral
• ยาเหน็บ (rectal suppository)
• ยาทา (cream, ointment, lotion, paste, gel)
• ยาพ่น (DPI,MDI, susp for nebulizer)
• ยาส าหรับสูดดม (spirit)
• ยาอมใต้ลิ ้น (sublingual tab)
• ยาตา ยาหู (eye drop, eye oint, eye susp, ear drop, ear oint, ear susp)
• ยาอม (lozenge)
• ยาดมสลบ (Volatile liquid)
ยาสามัญประจ าบ้าน
• ล่าสุดยาสามัญประจ าบ้านแผนปัจจุบัน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ.๒๕๕๕
• ยาที่กระทรวงสาธารณสุขก าหนดให้เป็นยาสามัญประจ าบ้าน ที่
สามารถให้ประชาชนทั่วไปที่ไม่ได้เป็นแพทย์หรือผู้มีหน้าที่ด าเนินการ
ทางการแพทย์ สามารถใช้ได้อย่างไม่มีความอันตรายและเป็นการรักษา
ตนเองเบื ้องต้น ใช้รักษาอาการเจ็บป่ วยเล็กๆ น้อยๆ ที่ไม่มีอาการรุนแรง โดยผู้ป่ วยหรือประชาชนสามารถใช้รักษาได้ด้วยตนเอง เช่น ไอ ปวด
ปวดศีรษะ ถูกน ้าร้อนลวก ท้องอืด ท้องเฟ้อ ถูกมีดบาด เหาซื ้อได้ทั่วไปโดยไม่ต้องมีใบสั่งแพทย์ป็นต้น สามารถ
หาซื ้อได้ทั่วไปโดยไม่ต้องมีใบสั่งแพทย์
4.กฎหมายเกี่ยวกับยาและควบคุมยา
จำแนกยาตามกฎหมาย แบ่งออกเป็น 7 ประเภท
1.ยาแผนปัจจุบัน
• 2.ยาแผนโบราณ
• 3.ยาอันตราย
• 4.ยาสามัญประจ าบ้าน
• 6 ยาแผนปัจจุบันบรรจุเสร็จ
• 5.ยาควบคุมพิเศษ
วัตถุออกฤทธิต่อ
ประสาทและยาเสพติด