Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทารกโตชาในครรภ (intrauterine growth restriction (IUGR] or fetal growth…
ทารกโตชาในครรภ (intrauterine growth restriction (IUGR] or
fetal growth restriction [FGR])
ความหมาย
ภาวะที่ทารกในครรภ์มีน้ำหนักตัวจากการคาดคะเนน้อยกว่าเปอร์
เซ็นต์ไทล์ที่ 10 เมื่อเทียบกับอายุครรภ์นั้นส่วนทารกที่มีขนาดเล็กกว่าอายุ
ครรภ์ (small for gestational age [SGA]) หมายถึง ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักตัวน้อยกว่าเปอรเซ็นตืไทล์ท๊๋ 10 เมื่อเทียบกับอายุครรภ์นั้น
ประเภท
1.ทารกมีการเจริญเติบโตช้าแบบสมมาตรในลักษณะเติบโตช้าไปในทุุกส่วน (Symmet rical IUGR) เมือพิจารณาอัตราส่วนระหว่างเส้นรอบศีรษะต่อเส้นรอบท้อง (head to abdomen circumference ratio: HC / AC) อยู่ในเกณฑ์ปกติพบได้ร้อยละ 20-30 ของการคลอด
ทารกมีการเจริญเติบโตช้าแบบไม่สมมาตร (asymmetrical UGR) สามารถพิจารณาได้จากอัตราส่วนของเส้นรอบศีรษะต่อเส้นรอบท้องที่มากขึ้นสาเหตุมักเกิดจากปัจจัยที่ทำให้เลือดไปเลี้ยงทารกได้ไม่ดีในระยะท้าย ๆ ของการตั้งครรภ์โดยเฉพาะสาเหตุจากตัวมารดาหรือสาเหตุจากรก ได้แก่ รกเสื่อมมารดา
3.ทารกที่มีการเจริญเติบโตช้าแบบผสมผสาน (combined UGR) หมายถึงทารกที่มีปัญหาเจริญเติบโตช้าทั้งแบบ Symmetrical และแบบ asymmetrical IUGR โดยในช่วงแรกของการตั้งครรภ์ทารกอาจมีภาวะแบบ Symmetrical IUGR
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
1.เมื่อทารกมีภาวะเจริญเติบโตช้าส่งผลใหในระยะคลอดทารก อาจมีภาวะ fetal distress ทำให้ต้องสิ้นสุดการตั้งครรภ์ด้วยการผ่าตัดการคลอดทางหน้าท้อง
สูญเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลไกลโคเจนทารกที่
เจริญเติบโตช้าในระยะหลัง
มีความวิตกกังวลในการเลี้ยงดูทารก
ทารก
มีโอกาสเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (hypoglycemia) ในระยะแรกเกิดได้ง่ายเนื่องจากทารกมีการสะสมไกลโคเจนในตับและไขมันใต้ผิวหนังน้อยกว่าปกติ
ภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ (hypocalcemia) ซึ่งเป็นผลมาจากภาวะacidosis โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรายที่มี intrauterine asphyxia
3.มีภาวะตัวเหลือง
สาเหตุ
1.มารดา
1.1 สาเหตุที่เกิดมาก่อนตั้งครรภ์ คือมารดามีน้ำหนักตัวก่อนตั้งครรภ์น้อยมีภาวะโรคต่าง ๆ เช่น เป็นโรคหัวใจความดันโลหิตสูงเบาหวานมีความผิดปกติของหลอดเลือดความผิดปกติของไต หอบหืด เลือดจาง มีภาวะทุพโภชนาการหรือมีการใช้สารเสติดต่าง ๆ เช่น เหล้า บุหรี่ เป็นตน
1.2 สาเหตุที่เกิดร่วมขณะตั้งครรภ์ คือ มารดามีภาวะแทรกซ้อนในระยะตั้งครรภ์ เช่น มีภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์เลือดจางขณะตั้งครรภ์ เบาหวานขณะตั้งครรภ์ ติดเชื้อหรือมีน้ำหนักตัวที่ขึ้นระหว่างตั้งครรภ์น้อยกว่าเกณฑ์ เป็นต้น
2.ทารก
2.1ทารกมีความผิดปกติ ได้แก่ โครโมโซมผิดปกติกลุ่ม Trisomy 13,18 มีภาวะโรคหัวใจตั้งแต่แรกเกิดผนังหัวใจไม่ปิดและผนังหน้าทองปิดไม่สนิท (gastroschisis)
2.2 การตั้งครรภ์แฝด
3.รก
3.1มีความผิดปกติที่ตำแหน่งที่รกหรือสายสะดือเกาะรก เกาะบรเวณส่วนลางเชน placenta previa สายสะดือเกาะบริเวณถุงน้ำคร่ำ เป็นต้นที่ให้เลือดไหลเวียนจากแม่ไปสู่ลูกได้ไม่เต็มที่
3.2 รกมีความผิดปกติ เช่น รกเสื่อม รกมีหินปูนเกาะหรือมีเล็กกว่าปกติเส้นเลือดแดงในสายสะดือมีเส้นเดียว เป็นต้น อาการและอาการแสดงของภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ขนาดหน้าท้องไม่สัมพันธ์กับอายุครรภ์โดยเฉพาะ Symphysis fundat height น้อยกว่าค่าเฉลี่ยปกตืในอายุครรภ์ที่เท่ากัน
สามารถคลำตัวทารกได้ชัด
เนื่องจากมีปริมาณน้ำคร่ำน้อย
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ให้ข้อมูลแก่สตรีตั้งครรภ์และครอบครัว
แนะนำให้สตรีตั้งครรภ์รับประทานอาหารอย่างถูกสุข
อนามัยและครบส่วน เพิ่มโปรตีนให้มากขึ้น
แนะนำให้สตรีตั้งครรภืพํกผ๋อนอย๋างเพ๊ยงพอเน็นการนอน
ตะแคงซ็ายเพอให้เลือดไปเลี้ยงทารกได้ดีมากขึ้น
แนะนำให้สตรีตั้งครรภ์นับลูกดิ้นเป็นแบบที่ 1 หรือ 2 ก็ได้โดยแบบที่ 1 นับจำนวนเด็กดิ้นให้ครบ 10 ครั้งใน 4 ชั่วโมง (นิยมนบ 8.00-12.00 น.) ถ้าพบว่าทารกดิ้นน้อยกว่า 10 ครั้งให้รีบมาพบแพทย
ระยะคลอด
ให้การพยาบาลเพื่อช่วยลดระยะเวลาในระยะที่ 1 และ 2 ในระยะคลอด ได้แก่ การจัดท่าศีรษะสงูการจัดท่าศีรษะสูงนี้แรงโน้มถ่วงของโลกจะช่วยทำให้ทารกเคลิ่อนต่ำลงมาได้ร่วมกับการที่ศีรษะทารกมากดที่บริเวณปากมดลูกจะเกิด ferguson's reflex ส่งผลให้มดลูกหดรัดตัวดีขึ้นได้เพื่อหลีกเลี่ยงการใช้ยากระตุ้น