Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์ในครรภ์ก่อนกำหนด ( preterm Premature…
ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์ในครรภ์ก่อนกำหนด ( preterm Premature rupture of
membranes : PPROM)
ภาวะที่ถุงน้ำคร่ำ (chorioamniotic membranes) แตกก่อนการเจ็บครรภ์คลอด พบได้ทั้งในอายุครรภ์ครบกำหนด คือถุงน้ำคร่ำแตกเมื่ออายุครรภ์ 237 สัปดาห์ (term PROM) หรือในครรภ์ก่อนกำหนด
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
ประวัติเคยเกิดภาวะ PPROM มีความเสี่ยงสูงถึง 3 เท่าที่จะเกิดซ้ำอีก
การอักเสบติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ (chorioamnionitis)
การติดเชื้อในระบบอวัยวะสืบพันธุ์ส่วนล่างการติดเชื้อโรคทางเพศสัมพันธ์
การติดเชื้อเรื้อรังของระบบทางเดินปัสสาวะ ทำให้มดลูกมีการหดรัดตัวเพิ่มขึ้น
การตั้งครรภ์แฝด (multifetal gestation) ครรภ์แฝดน้ำ ทำให้มดลูกถูกยึดขยายมาก ความดันภายในโพรงมดลูกเพิ่มขึ้น
ความผิดปกติของปากมดลูก เช่น ปากมดลูกปิดไม่สนิท (cervical incompetence)
7.การทำหัตถการบางอย่าง เช่น การเจาะถุงน้ำคร่ำ (amniocentesis)
ภาวะรกเกาะต่ำ (placenta previa) รกลอกตัวก่อนกำหนด (abruptio placentae)
อาการและอาการแสดง
ส่วนใหญ่สตรีมีครรภ์รู้สึกมีน้ำใสๆ หรือน้ำสีเหลืองจางๆไหลออกทางช่องคลอดทันทีจนเปียกผ้านุ่ง โดยไม่ีอาการเจ็บครรภ์ หรือก่อนจะมีอาการเจ็บครรภ์ แต่บางรายอาจไหลซึมเล็กน้อยตลอดเวลา หรือไหลแล้วหยุดไป
ผลกระทบต่อสุขภาพของสตรีมีครรภ์และทารก
ผลต่อสตรี สตรีมีโอกาสติดเชื้อในโพรงมดลูกและถุงน้ำคร่ำ (intra-amniotic infection) การติดเชื้อถุงน้ำคร่ำ (chorioamnionitis) การติดเชื้อในกระแสเลือด (sepsis) ภาวะโลหิตเป็นพิษ (septicemia)
ผลต่อทารก ภายในถุงน้ำคร่ำแตก decidua จะสร้าง prostaglandin เพิ่มขึ้นและกระตุ้นให้เกิดการเจ็บครรภ์คลอด ใน PPROM
การวางแผนการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดถุงน้ำคร่ำอักเสบ(chorioamnionitis) เนื่องจากมี
น้ำเดิน
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะเช่น
ampicillin 2 gms v g 12 hrs
erythromycin 500 mg 1 x 3 pc
แนะนำให้รักษาความสะอาดของ
อวัยวะสืบพันธ์
เปลี่ยนผ้าอนามัยทุก 2 ชั่วโมง เพราะการเปียกชื้นของผ้าอนามัยทำ
ให้ติดเชื้อ
สังเกตสีกลิ่นของน้ำคร่ำมีกลิ่น
เหม็น สีขุ่นแสดงว่ามี chorioamnionitis
5.วัตอุณหภูมิทุก 4 ชั่วโมง
7.ติดตาม abdominal sing เพื่อดู
การเจ็บหน้าท้อง
ติดตามผล cervical gram stain
และ cervical c/s
เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนดเนื่องจากถุงน้ำคร่ำแตกเมื่ออายุ
ครรภ์ < 37 สัปดาห์
ประเมินสัญญาณชีพ เสียงหัวใจทารก และการดิ้นของทารกทุก 4
ชั่วโมง
ประเมินลักษณะ สี กลิ่น และ
ปริมาณของน้ำคร่ำ
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกทุก4 ชั่วโมง และอาการเจ็บครรภ์
4.ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
และรายงานเมื่อพบความผิดปกต
5.ดูแลให้พักผ่อนบนเตียง
6.หลีกเลี่ยงการตรวจทางช่องคลอด
ตรวจเท่าที่จำเป็นโดยใช้หลัก
ปราศจากเชื้อ
7.ดูแลให้ยาตามแผนการรักษาของ
แพทย์ รวมทั้งสังเกตอาการแทรกซ้อนจากยา