Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
คำ 7 ชนิด : - Coggle Diagram
คำ 7 ชนิด :
คำนาม
ประเภท
บอกความเป็นหมู่พวกกลุ่มคณะ เช่น โขลงช้างพัง
เป็นนามธรรม เช่น การกิน ความรัก
ชื่อเฉพาะ เช่น พระอภัยมณี ช้างก้านกล้วย
ชื่อทั่วไป ชื่อคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ เช่น พ่อ ช้าง
บอกลักษณะนาม เช่น หลัง คัน แท่ง แผ่น
หน้าที่
กรรมของประโยค
กรรมตรงและกรรมรอง
ขยายคำอื่นให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
คำเรียกขาน
ประธานของประโยค
ส่วนเติมเต็มให้กิริยา
คำที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ ลักษณะ ทั้งเป็นรูปธรรมและนามธรรม
คำกิริยา
ประเภท
ต้องมีส่วนเติมเต็ม: เธอวางท่า ราวกับ นางพญา
คำช่วยกิริยา:ลูก ควร นอน ไม่เช่นนั้นพรุ่งนี้ จะ ตื่นสาย
ต้องมีกรรมมารับ: ฉัน ไป(โรงเรียน)
มีความหมายสมบูรณ์ในตัว: นก ร้องเพลง ในสวน
หน้าที่
ขยายนาม;ยายทำอาหาร ถวาย พระทุกวัน
เหมือนคำนาม:พูดดี เป็นศรีแก่ตัว
แสดงอาการ.บอกสภาพของประธาน: ไก่ จิก ข้าว
คำแสดงอาการบอกสภาพการกระทำของประธานถ้าขาดคำกิริยาจะสื่อสารไม่เข้าใจ มีความสำคัญกับประโยคมาก
คำบุพบท
คำเชื่อมคำต่อคำมักอยูหน้าคำกลุ่มคำ
การใช้,หน้าที่
แสดงความเป็นเจ้าของ:ของ แห่ง ใน
ข้อความที่ไปในทิศทางเดียวกัน: กับ
ใช้ในควา่มหมายว่าให้: แก่ แต่
ใช้บอกความหมายเฉพาะ:ต่อ
บอกเวลา,สถานที่ : แต่ จาก
ละบุพบทในฐานที่เข้าใจได้
ข้อสังเกต
นำหน้าคำสรรพนาม
นำหน้าคำกิริยา
นำหน้าคำนาม
คำสรรพนาม
หน้าที่
เป็นกรรมของประโยค
เป๋นคำขยาย
เป็นประธานของประโยค
เป็นส่วนเติมเต็มในประโยค
ประเภท
เน้นคำนามที่อยู่ข้างหน้า เช่น คุณพ่อ"ท่าน"รักลูก
เชื่อมประโยค : ที ซึ่ง อัน ผู้
ชี้ซ้ำ แบ่งพวกหรือรวมพวก เช่น ต่าง บ้าง กัน
บอกความไม่เจาะจง เช่น ใดๆ ไหนๆ
ใช้เป็นคำถาม เช่น ใคร อะไร ไหน
ชี้ระยะ เช่น นี่ นั่น โน่น
ใช้ในการพูด บุรุษสรรพนาม เช่น เธอ ฉัน เขา
คำที่ใช้แทนชื่อคน สัตว์ สิ่งของ มักใช้ในการพูด
คำวิเศษณ์
คำที่ประกอบหรือขยายกับคำอื่นให้มีเนื้อความแปลกไปสมบูรณ์ด้วยอารมณ์ความรู้สึกและจินตนาการ
ประเภท
บอกเวลา
บอกสถานที่
บอกลักษณ์
บอกปริมาณจำนวน
บอกความไม่ชี้เฉพาะ
บอกความชี้เฉพาะ
แสดงคำถาม
แสดงการเรียกร้องขานรับแสดงความสุภาพ
แสดงความปฎิเสธ
หน้าที่
ขยายคำกิริยา
ขยายคำวิเศษณ์
ขยายคำสรรพนาม
บอกสภาพแสดงกิริยาอาการ
ขยายคำนาม
คำสันธาน
หน้าที่
เชื่อมคำกับคำ
เชื่อมคำกับกลุ่มคำ
เชื่อมประโยคกับประโยค
ข้อสังเกต
อาจละคำสันธานไว้ในฐานที่เข้าใจ
คำว่า และ ,ให้ เชื่อมประโยค
คำว่า ที่ ซึ่ง อัน ผู้ เชื่อมประโยค
คำว่า ระหว่าง เชื่อมประโยค
คำที่เชื่อมทีทำให้ประโยคชัดเจน กะทัดรัด
คำอุทาน
คำที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงอารมณ์ ไม่มีความสำคัญในประโยค
ประเภท
บอกอารมณ์ความรู้สึก
อุทานเสริมบท เช่น หนักอกหนักใจ