Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้สารเสพติดในสตรีมีครรภ์ (Drug addicted pregnancy) - Coggle Diagram
การใช้สารเสพติดในสตรีมีครรภ์ (Drug addicted pregnancy)
กลุ่มที่กระตุ้นการทํางานของระบบประสาท (central nervous system stimulants) เช่น โคเคน (Cocaine) ยาบ้า (amphetamines) สารนิโคตินในบุหรี่ เป็นต้น
กลุ่มที่กดการทํางานของของระบบประสาท (central nervous system depressants) เช่น กัญชา (marijuana) เฮโรอีน (heroin) ฝืน (opioids) มอร์ฟีน (morphine) แอลกอฮอล์ (alcohol)
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของสตรี ด้านร่างกาย
สตรีที่ใช้สารเสพติดมักมีฐานะยากจน ทำให้ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ และ ครรภ์หรือมาฝากครรภ์ไม่สม่ำเสมอ
เกิดการติดเชื้อจากการฉีดสารเสพติดเข้าทางหลอดเลือดดำ โดยเฉพาะเชื้อ hepate และ HIV
พบอุบัติการณ์ของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์สูงขึ้น
ได้รับผลกระทบจากฤทธิ์ของสารเสพติดที่ใช้ ซึ่งมีผลต่อการทำงานของระบบประสาท
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของทารก
ทารกที่เกิดขณะมารดาใช้สารเสพติดอาจมีอาการของภาวะขาดยา(neonatal abssyndrome) เช่น หัวใจเต้นเร็ว กระสับกระส่าย ร้องไห้ตลอดเวลา เป็นต้น
1.สารเสพติดสามารถผ่านรกได้ตลอดการตั้งครรภ์จึงอาจส่งผลต่อทารกในครรภ์ เช่น เกิดการแท้งเอง ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ คลอดก่อนกำหนด ทารกแรกเกิดน้ำหนัก
ในระยะยาวพบว่าสตรีที่ใช้สารเสพติด มีแนวโน้มที่จะทอดทิ้งทารกมากขึ้น
ด้านจิตสังคม
1.มีความอดทนต่อความเจ็บปวดต่ำ
2.มองภาพลักษณ์ตนเองไม่ดี
3.มีสัมพันธภาพไม่ดีกับทารก
4.มีการปรับตัวต่อบทบาทมารดาไม่เมาะสม
การประเมินและวินิจฉัย
การซักประวัติและการสังเกต พบอาการและอาการแสดงของการใช้สารเสพติดชนิดต่างๆ
การตรวจร่างกาย พบร่องรอยของการใช้สารเสพติด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบสารเสพติดในปัสสาวะ
แนวทางการดูแลรักษา
สืบค้นสตรีมีครรภ์ทุกรายว่ามีการใช้สารเสพติดชนิดใดในขณะตั้งครรภ์หรือไม่
การดูแลในขณะฝากครรภ์ ให้การดูแลเช่นเดียวกับสตรีมีครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูง
ถ้าพบความพิการหรือความผิดปกติแต่กําเนิดของทารก พิจารณายุติการตั้งครรภ์ตาม ข้อบ่งชี้
ถ้ามีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้น ให้การดูแลตามแนวทางการรักษาภาวะแทรกซ้อนนั้นๆ
การดูแลในระยะคลอด แรกรับควรประเมินสารเสพติดในปัสสาวะและให้การดูแล
การดูแลภายหลังคลอดช่วยเหลือเรื่องการหยุดใช้ยาอย่างต่อเนื่อง
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
อธิบายผลกระทบที่อาจเกิดจาก
การใช้สารเสพติด
ให้คำแนะนำและช่วยเหลือเรื่อง
การหยุดใช้สารเสพติด
ประเมินภาวะแทรกซ้อน
อธิบายให้เห็นความสำคัญของ
การมาฝากครรภ์ตามนัด
แนะนำเรื่องการรับประทาน
อาหารที่ครบถ้วน
ส่งต่ออย่างเหมาะสม
ระยะคลอด
1.ให้ดูแลเรื่องการบรรเทาความ
เจ็บปวดอย่างเหมาะสม
ระยะหลังคลอด
ให้คำแนะนำและช่วยเหลือเรื่อง
การหยุดใช้สารเสพติด
สร้างสัมพันธภาพกับสตรีมี
ครรภ์และครอบครัว
สนับสนุนช่วยเหลือเรื่องการ
หยุดใช้สารเสพติดอย่างต่อเนื่อง
6.เปิดโอกาสให้สตรีมีครรภ์และ
ครอบครัวพูดคุยระบายความรู้สึก
2.อธิบายให้เห็นความสำคัญของ
การคุมกำเนิด
7.ก่อนกลับบ้านประเมินความสามารถในการดูแลทารก
1.ให้การพยาบาลตามภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น
8.ติดตามเยี่ยมบ้านอย่างสม่ำเสมอ