Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Vasa Previa - Coggle Diagram
Vasa Previa
การพยาบาล
- อธิบายให้สตรีมีครรภ์และครอบครัวทราบถึงพยาธิสภาพภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น แผนการรักษารวมทั้งการปฏิบัติตัวที่เหมาะสม เพื่อลดความวิตกกังวลและความร่วมมือในการรักษา
- ประเมินเสียงหัวใจของทารกอย่างต่อเนื่อง
- ให้ออกชิเจน 4-5 ลิตร/นาที
- เตรียมการช่วยคลอดทางช่องคลอด หรือการผ่าตัดคลอดทางหนาทองโดยเร็วตามแผนการรักษารวมทั้งเตรียมเครื่องมือและอุปกรณต่าง ๆให้พร้อม
- เตรียมการช่วยเหลือทารกแรกเกิดทันที รวมทั้งเตรียมทีม
บุคลากร สถานที่ อปกรณและเครื่องมือต่าง ๆ ให้พรอม
สาเหตุ
-
เมื่อถึงน้ำคร่ำแตกหรือถูกเจาะที่บริเวณปากมดลก จึงทำให้หลอด
เลือดที่ทอดผ่านปากมดลูกฉีกขาดด้วย และมีเลือดไหลออกจากสายสะดือ ซึ่งมาจากตัวทารก ทำให้ทารกในครรภ์เสียเลือด ขาด
ออกซิเจนและมีโอกาสตายในครรภสูง
อาการเเละอาการเเสดง
-
- ระยะหลังถุงน้ำคร่ำแตก
มีอาการและอาการแสดง
-
2.2 มีภาวะ fetal distress เพราะเลือดที่ออกมาเป็นเลือดจากทารก การเกาะของสายสะดือบนรก (Chorionic plate) มี 4 ชนิด
-
-
-
(4) Membranous insertion สายสะดือติดอยู่บนเยื่อหุ้มทารกชั้น
Chorion และมีแขนงของสายเลือดจากสะดือที่ต่อไปถึงChorionic plate โดยปกติสะดือจะเกาะบนรกแบบ Central หรือ
Lateral insertion มีน้อยรายที่จะเปนแบบ Battledore placenta หรือ Membranous insertion
การรักษา
-
- กรณีที่วินิจฉัยได้ภายหลังถุงน้ำคร่ำแตก ต้องทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงโดยเร็ว เช่น การช่วยคลอดด้วยคีม การผ่าตัดนำทารกออกทางหน้าท้อง หรือหากทารกตายในครรภ์แล้วอาจให้คลอดเองทางช่องคลอด และเมื่อเข้าสู่ระยะคลอด ทุกครั้งที่ถุงน้ำคร่ำแตกหรือเจาะถุงน้ำคร่ำต้องคำนึงภาวะ Vasa Previa ด้วยเสมอโดยเฉพาะในรายที่รกเกาะต่ำและตั้งครรภ์แฝด
ความหมาย
ภาวะที่หลอดเลือดของสายสะดือหรือของรกทอดอยู่บนเยื่อหุ้มทารกและทอดผ่านบริเวณปากมดลูก และอยู่ต่ำกว่าส่วนนำของทารก เมื่อมีการฉีกขาดของเยื่อหุ้มทารกและเส้นเลือดในบริเวณดังกล่าวจะเรียกว่า ruptured vasa previa บนเยื่อหุ้มทารกในลักษณะต่างๆ (velamentous insertion) มีหลอดเลือดทอดผ่าน และเกิดการฉีกขาดเกิดขึ้นซึ่งมักจะเกิดร่วมกับภาวะรกเกาะต่ำ ภาวะที่มีรกน้อยแบบ placenta succenturiata หรือเกิดร่วมกับครรภ์แฝด ซึ่งครรภแฝดมีโอกาสเกิดภาวะรกเกาะต่ำได้มาก
-