Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตั้งครรภ์์ในสตรีวัยรุ่น Teenage or aldosterone pregnancy - Coggle…
การตั้งครรภ์์ในสตรีวัยรุ่น Teenage or aldosterone pregnancy
ความหมาย
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ตามความหมายองค์การอนามัยโลก หมายถึง สตรีตั้งครรภ์ที่มีอายุระหว่่าง 10-19 ปี
การตั้งครรภ์ในสตรีวัยรุ่นที่มีิายุน้อยกว่า 20 ปี แบ่งเป็น 3 ระยะ
1.วัยรุ่นตอนต้น อายุ ≤ 14 ปี
2.วัยรุ่นตอนกลาง อายุ15-17 ปี
3.วัยรุ่นตอนปลาย อายุ18-19 ปี
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
สภาพครอบครัว
1.พ่อแม่ทะเลาะกันประจํา ทําให้บรรยากาศในบ้านไม่น่าอยู่ ส่งผลให้วัย รุ่นออกจากบ้านมาหาเพื่อนหรือแฟน
2.ครอบครัวแตกแยก พ่อแม่แยกทางกัน ลูกต้องอยู่กับพ่อหรือแม่หรือบุคคลอื่นส่งผลให้รู้สึกว้าเหว่ ขาดความรักและความอบอุ่นทําให้แสวงหาความรักในทางที่ไม่เหมาะสม
3.พ่อแม่ทํางานจนไม่มีเวลาพูดคุยกับลูก ก่อใหเ้กิดความห่างเหินระหว่างวัยรุ่นกับพ่อแม่
อัตราวัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์เร็วในปัจจุบันมากขึ้น
2.ระดับการศึกษา สถานะทางสังคมและเศรษฐกิจทําให้ขาดความรู้เกี่ยวกับการวางแผนครอบครัววัและการป้องกันการตั้งครรภ์ตลอดจนการเข้าถึงการบริการต่างๆ
1.การเปลี่ยนแปลงของสังคม วัฒนธรรม ความเชื่อ และค่านิยมต่างๆ ทําให้วัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุน้อยๆ ในอัตราที่เพิ่มมากขึ้น
3.การดื่มสุรา หรือการใช้สารเสพติดต่างๆทําใหเ้พิ่มความเสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ โดยไม่ได้ตั้งใจและเกิดการตั้งครรภ์ตามมา
ขาดความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการตั้งครรภ์ หรือความล้มเหลวในการคุมกําเนิดด้วยวิธิต่างๆ
การถูกข่มขืนโดยบุคคลในครอบครวัหรือบุคคลอื่น
การมีประจําเดือนครั้งแรกเร็วทําให้มีการตกไข่เร็วจึงสามารถตั้งครรภ์ได้ตั้งแต่อายุยังน้อย
ผลกระทบ
หญิงตั้งครรภ์
ด้านร่างกาย
วัยรุ่นเป็นวัยที่ร่างกายกําลังอยู่ในช่วงเจริญเติบโตเมื่อตั้งครรภ์อาจทําให้การเจริญเติบโตของร่างกายหยุดชะงัก หรือเพิ่มน้อยกว่าปกติความสูงน้อยกว่าที่ควรจะเป็น เนืองจากการตั้งครรภ์มีการหลั่งฮอรโ์มนเอสโตรเจนมากขึ้นทําให้ Epiphysisของกระดูกปวดเร็วขึ้นทําให้ร่างกายไม่สูง
ประจำเดือนไม่สม่ำเสมอ ทําให้ฝากครรภ์ล่าช้าบางคนไม่กล้ามาฝากครรภ์ทําให้ไม่ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยง ส่งผลต่อภาวะทุพโภชนาการ โลหิตจาง
ถ้าเป็นการตั้งครรภ์ที่ไม่ได้วางแผน(Unplanned Pregnancy) และไม่สามารถยอมรับการตั้งการตั้งครรภ์ได้ กลายเป็นการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์(Unwanted Pregnancy)หญิงตั้งครรภ์บางคนอาจไปทําแท้งและเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมาบางคนอาจจะไม่สนใจดูแลตัวเองในระหว่างการตั้งครรภ์ส่งผลให้หญิงตั้งครรภ์เกิดภาวะทุพโภชนาการ โลหิตจางหรือภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ
เนื่องจากการเจริญของระบบต่างๆ ยังไม่สมบูรณ์ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อน ดังนี้
ภาวะโลหิตจาง ส่วนใหญ่เกิดจากภาวะทุพโภชนาการโดยเฉพาะขาดธาตุเหล็ก Folic acid ซึ่งภาวะโลหิตจางสามารถรักษาได้ในช่วงของการฝากครรภ์ แต่เนื่องจากสตรีวัยรุ่นมักฝากครรภ์ช้า จึงทําให้พบอุบัติการณ์ของภาวะโลหิตจางได้
การคลอดก่อนกําหนด (Preterm)
มารดาอายุน้อยกว่า 20
เกิดจากการเจริญเติบโตที่ไม่เต็มที่ของร่างกายวัยรุ่น
ครรภ์แรก
เกิดจากภาวะความดันโลหิตสูงและทารกในครรภ์โต
ติดเชื้อในร่างกาย เช่น การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
ดื่มเหล้า สูบบุหรี่ใช้สารเสพติดขณะตั้งครรภ์
ภาวะความดันสูงร่วมกับการตั้งครรภ์
ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ภาวะศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับช่องเชิงกราน (CPD) ทําให้เกิดระยะการคลอดยาวนานเสี่ยงต่อการใช้สูติศาสตร์หัตถการในการช่วยคลอด
การตกเลือดในระยะหลังคลอด
อัตราการตายของมารดาสูงขึ้น
การติดเชื้อในระหว่างการตั้งครรภ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อที่มักเกิดในวัยเด็ก เช่น การติดเชื้อในหูชั้นกลาง โรคสุกใส หัด คางทูม ไอกรน เป็นต้น
ทารก
ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย (low birth weight) คือทารกน้ำหนักตัวน้อยกว่า2,500 กรัม เกิดจากภาวะทุพโภชนาการของมารดา เนื่องจากมารดายังต้องใช้พลังงานเพื่อการเจริญเติบโตของตนเองด้วย
การคลอดก่อนกําหนดหรือเกินกําหนด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
การคุมกําเนิด
ธรรมชาตินับวัน
ยาเม็ดฉุกเฉิน(emergency
contraceptive pill)
ถุงยางอนามัย(condom
ยาเม็ดคุมกําเนิดชนิดฮอรโ์มนรวม(combined oral
contraception)
ผลข้างเคียงจากการใช้ระดับยาที่ค่อนข้างสูง ไม่สามารถใชไ้ด้บ่อย ๆ
ข้อเสีย ต้องใช้ยาอย่างสม่ำเสมอทุกวันโดยไม่ลืม ถ้าลืมต้องใช้วิธีอื่นช่วย เช่น ถุงยางอนามัย
ยาเม็ดคุมกําเนิดชนิดฮอรโ์มนรวม(combined oral
contraception)
ในคนที่มีน้ำหนักตัวมากกว่า 70 กิโลกรัม ประสิทธิภาพจะลดลง ประจําเดือนอาจมาผิดปกติ น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น เป็นต้น
ยาฝังคุมกําเนิด(implant contraception)
ทําให้ประจําเดือนผิดปกติอาจไม่มาเลยหรือเป็นเลือดออกกปริบกะปรอย น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น ปวดศีรษะได้
ยาฉีดคุมกําเนิด(injectable contraception)
ราคาแพง และมีปัญหาการหลุดลอกซึ่งพบได้ถึงร้อยละ 32
แผ่นยาคุมกําเนิดชนิดแปะผิวหนัง
(transdermal patch)
การป้องกัน
การให้ความรู้เกี่ยวกับเพศศึกษาที่เหมาะสม
การเข้าถึงการให้บริการเกี่ยวกับอนามัยการเจริญพันธ์
การคุมกำเนิดการป้องกัน และรักษาโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมต่อวัยรุ่นที่ทําให้รู้สึกปลอดภัย
การดูแลและความเข้าใจจจากบุคคลในครอบครวัและสังคมรอบข้างองค์กรต่าง ๆ ของภาครฐัและเอกชน
ผู้ให้บริการทางการแพทย์ สหสาขาวิชาชีพมีบทบาทให้การส่งเสริมการคุมกําเนิด
์
การดูแลสตรีวัยรุ่นตั้งครรภ์
ตรวจหาอายุครรภ์ที่ถูกต้องคัดกรองความผิดปกติของทารกในครรภ์ด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
คําแนะนําเกี่ยวกับภาวะโภชนาการที่เหมาะสม
ตรวจหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบางอย่าง เช่น การสูบบุหรี่ การใช้ยาหรือสารเสพติด
การดูแลสภาพจิตใจให้กำลังใจและคําปรึกษา
มีการตรวจ Screening Test กลุ่มอาการธารสัซีเมียร่วมทั้งของสามีด้วย
การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ เช่น ความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์
การวางแผนการคลอด