Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Fever,Cough,Asthma syndrome - Coggle Diagram
Fever,Cough,Asthma syndrome
การวินิจฉัยแยกโรค
-
-
-
ไข้ ไอ
เจ็บคอเวลากลืนอาหาร กลืนน้ำลายลำบาก คอแห้ง PE: คอแดงจากเชื้อไวรัส ถ้าเป็นแบคทีเรียคอจะแดงมาก ทอนซิลโตมาก ในเด็กคลำต่อมน้ำเหลืองได้ที่คอ
-
-
-
ไม่มีไข้
-
หอบเหนื่อย ไอ
อายุ>40ปี ไอมีเสมหะหรือไม่มีเสมหะ PE: Dyspnea, pursed lip, ใช้กล้ามเนื้อช่วยหายใจ, Barrel shape, Prolong expiratory, Wheezing, Clubbing finger
-
-
-
ไข้ ไอ พบในเด็ก 1-10 ปี
มีประวัติสัมผัสโรค ครั่นเนื้อครั่นตัว เจ็บคอ เสียงแหบ หายใจลำบาก หายใจเร็ว กระสับกระส่าย ไม่เคยได้รัลวัคซีนไอกรน ฉีดไม่ครบ PE: หน้าอกบุ๋มขณะหายใจ ฝ้าขาวปนเทาที่ผนังคอ อาจพบฝ้าขาวที่จมูกบริเวณ Septum
-
-
ไม่มีไข้หวัดคัดจมูก
เป็นหวัดเรื้อรัง ปวดมึนหนักๆบริเวณหัวตา หน้าผากโหนกแก้ม รอบๆกระบอกตา มักมีอาการตอนเช้าเวลาก้มเปลี่ยนท่า เจ็บคอมีเสลดเหลืองเขียวในลำคอ PE: พบเยื่อจมูกบวมแดง เคาะบริเวณโพรงไซนัส
-
น้ำมูกใส จามบ่อยคันในจมูกน้ำตาไหลคันตาแสบตามักมีอาการตอนเช้าและตอนเย็น สัมผัสฝุ่นละอองหรือแพ้สารต่างๆ PE: พบเยื่อจมูกบวมและซีด
-
Fever
-
กลไกการเกิดไข้
กลไกมาจากแบคทีเรียที่ผลิตท็อกซิน หรือเนื้อเยื่อที่ถูกทำลายปล่อยสารไพโรเจน(Pyrogen) ออกมา สารตัวนี้จะไปกระตุ้นให้เม็ดเลือดขาวปล่อยสารก่อไข้ คือ เอนโดจีนัส ไพโรเจน(Endogenous pyrogen) ซึ่งจะไปกระตุ้นศูนย์ควบคุมอุณหภูมิ คือ ไฮโปทาลามัส ให้ทำงานมากขึ้น ทำให้อุณหภูมิของร่างกายสูงขึ้น
-
Cough
ลักษณะของการไอ
2.ไอกรน (Whooping cough) หลังจากไอเป็นชุด จะมีเสียง "วู๊บ" จากการหายใจเข้าเร็ว และเต็มที่ พบในผู้ป่วยหลอดลมอักเสบ
-
-
-
-