Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 แนวคิดทางด้านพฤติกรรม, บทที่4 กระบวนการทางจิต, บทที่5 บุคลิกภาพ,…
-
-
บทที่5 บุคลิกภาพ
แนวทัศนที่เกี่ยวข้อง
-
-
-
-
-
แนวทัศน์ลักษณะนิสัย ได้แก่ ทฤษฎีวิเคราะห์องค์ประกอบ ทฤษฎีลักษณะนิสัยของ Allport และ Eysenck ทฤษฎีลักษณะนิสัย 5 ด้าน
บุลิกภาพกับการทำนายพฤติกรรมมนุษย์
- นำข้อมูลมาใช้อ้างอิง
- ประเมินบุคลิกภาพโดยทั่วไป
- นำข้อมูลมาใช้ประโยชน์
-
-
-
ปัจจัยทางจิตวิทยาที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
- ความต้องการ
- อารมณ์
- ความสนใจ
- อุปนิสัย
- การเรียนรู้
- เจตคติทางสังคม
- สติปัญญาและความสามารถอื่นๆ
- การบวนการขัดเกลาทางสังคม
- แนวคิดเรื่องโครงสร้างบุคลิกภาพพื้นฐาน
- บุคลิกภาพถูกกำหนดโดยสถานการณ์ทางสังคม
บทที่7 พฤติกรรมทางสังคม
ธรรมชาติของพฤติกรรมมนุษย์ในบริบทสังคมและวัฒนธรรม คือ พฤติกรรมที่แสดงออกเมื่อบุคคลมีความเกี่ยวข้องกับสังคม
-
ช่องว่างระหว่งาบุคคล ได้แก่
- ระยะใกล้ชิด
- ระยะห่างบุคคล
- ระยะสังคม
- ระยะสาธารณะ
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และแรวทัศน์ที่เกี่ยวข้อง คือ สมาชิกในกลุ่มต่างต้องการที่จะเปรียบเทียบการกระทำ
-
-
-
-
-
-
บทที่6 พฤติกรรมสุขภาพ
จิตวิทยาสุขภาพ
-
ทฤษฎีพฤติกรรมสุขภาพ ได้แก่ รูปแบบความเชื่อสุขภาพ ทฤษฎีแรงจูงใจในการรักษาสุขภาพ ทฤษฎีเหตุผลในการปฏิบัติ ทฤษฎีการวางแผนพฤติกรรม
ปัจจัยทางจิตวิทยาที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพร่างกาย ได้แก่ ผลของความเครียด นิสัยไม่ดีต่อสุขภาพ ปฏิกิริยาต่อความเจ็บปวด
-
ความเครียด
แหล่งของความเครียด ได้แก่ ความเชื่อที่ไร้เหตุผล มหัตภัย การเปลี่ยนแปลงในชีวิต เหตุการณ์หรือส่งแวดล้อม และความขัดแย้ง
-
-
-
-
-
บทที่3 พัฒนาการมนุษย์
เพศและบทบาททางเพศ
-
-
ปัญทางด้านเพศสัมพันธ์และความผิดปกติ ได้แก่ ด้านความปรารถนา ด้านการถูกกระตุ้น ด้านจุดพอใจสูงสุด ด้านความเจ็บปวด
ความแตกต่างบทบาททางเพศ ได้แก่ ด้านความแข็งแรงทางด้านสรีระทักษะต่างๆ ด้านศักยภาพทางการคิดและความประสบความสำเร็จ ด้านอารมณ์อละพฤติกรรมทางสังคม ด้านการเลือกคู่และพฤติกรรมทางเพศ
-
พัฒนาการทุกช่วงวัย
กระบวนการพื้นฐานของการพัฒนา ได้แก่ พันธุกรรม หรือสิ่งแวดล้อม วุฒิภาวะ ประสบการณ์ในช่วงแรกและระยะวิกฤต การแปรผันของพัฒนาการ
-
ความหมายของพัฒนาการมนุษย์ การเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ทั้งในด้านโครงร่าง (Structure) และแบบแผน (Pattern) ของร่างกายทุกส่วนอย่างมีขั้นตอนและเป็นระเบียบแบบแผน
-
การแบ่งช่วงวัยพัฒนาการมนุษย์ ได้แก่ วัยก่อนคลอด วัยเด็กทารก วัยเด็กตอนต้น วัยเด็กตอนกลาง วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ตอนต้น วัยกลางคน และวัยผู้สูงอายุ