Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับทฤษฎีบุคลิกภาพ - Coggle Diagram
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับทฤษฎีบุคลิกภาพ
1 .กลุ่มทฤษฎีการเคลื่อนไหวทางจิต
1.2 ทฤษฎีจิตวิทยาปัจเจกบุคคล ของแอดเลอร์
ประสบการณ์ในวัยเด็ก
(1) เด็กที่ถูกเลี้ยงดูแบบตามใจ ส่งผลให้เด็กเอาแต่ใจตนเอง เห็นแก่ตัว เรียกร้องความสนใจ ขาดเหตุผล
(2) เด็กที่ถูกทอดทิ้ง จะขาดความอบอุ่น เกลียดชังพ่อแม่และคนรอบ ๆ ข้าง ทำให้เป็นคนมองโลกในแง่ ร้าย
(3) เด็กที่รับความรักความอบอุ่น ส่งผลให้เด็กเป็นคนมีเหตุผล มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความเป็นผู้นำ มองโลกในแง่ดี
ลำดับการเกิดของเด็กในครอบครัว
(1) ลูกคนโต ถ้าคนเดียวพ่อแม่จะเอาใจใส่เป็นพิเศษ แต่ถ้ามีน้อง ความรักจะถูกแบ่งปันให้น้องใหม่
(2) ลูกคนกลาง มีแนวโน้มจะเป็นคนดื้อรั้น เพราะรู้สึกอิจฉาพี่น้องของตน จึงพยายามเอาชนะด้วยการแสดงความสามารถเหนือกว่าพี่น้องออกมา
(3) ลูกคนสุดท้อง มักได้รับการตามใจได้รับความช่วยเหลือจากพ่อแม่พี่น้อง จึงมีลักษณะเป็นคนที่เอาแต่ใจตนเอง
(4) ลูกคนเดียว หรือลูกโทน จะรู้สึกว่าตัวเองสำคัญที่สุด มีนิสัยเอาแต่ใจ ดื้อรั้น ขี้เหงา เป็นผู้มีความเข้าใจผู้อื่น ฉลาด
1.1 ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ ของฟรอยด์
ทฤษฎีโครงสร้างบุคลิกภาพ ของฟรอยด์ มี 3 ระบบดังนี้
(1) อิด เป็นพลังงานทางจิตที่ซ่อมอยู่ภายใต้จิตสำนึกเป็นส่วนใหญ่หรือสัญชาตญาณที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิด
(2) อีโก้ เป็นพลังงานที่อยู่ใต้จำสำนึกและกึ่งสำนึกเป็นส่วนใหญ่ มีเหตุผลรับรู้ข้อเท็จจริงมีการยับยั้งช่างใจและมีการเลือกหนทางปฏิบัติที่เหมาะสมเป็นที่ยอมรับของสังคม
(3) ซูเปอร์อีโก้ เป็นพลังงานที่อยู่ภายในจิตสำนึกเป็นส่วนใหญ่ มักจะชอบทำตามระเบียบ กฎเกณฑ์ อย่างเคร่งครัด
ทฤษฎีลำดับขั้นตอนการพัฒนาการด้านบุคลิกภาพของฟรอยด์ แบ่งเป็น 5 ขั้น ดังนี้
(1) ระยะปาก เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนอายุ 1 ปี มักจะใช้ปากทำกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความพึงพอใจของตน เช่น การดูด การกัด แทะ
(2) ระยะทวารหนัก เริ่มในช่วงอายุ 2-3 ปี เด็กมีความพึงพอใจกับการขับถ่าย เด็กจะเรียนรู้ที่จะกลั้นการขับถ่าย
(3) ระยะอวัยเพศ เริ่มในช่วยอายุ 3-5 ปี เด็กมีความพึงพอใจที่ได้สัมผัสอวัยเพศของตนเอง เช่น การลูบคลำ จับเล่น ถูไถ
(4) ระยะสงบ อยู่ในช่วงอายุ 6-12 ปี เรียนรู้โลกภายนอกจากการไปโรงเรียน การเล่นกีฬา เล่นเกม และทำกิจกรรมต่าง ๆ
(5) ระยะสนใจเพศตรงข้าม เริ่มตั้งแต่ช่วงอายุ 12 ปีขึ้นไป เด็กจะเกิดความพึงพอใจที่จะคบหาสมาคม รักใคร่เพศตรงข้าม
แนวคิดเกี่ยวกับโครงสร้างของจิตมนุษย์
(1) จิตสำนึก
(2) จิตกึ่งสำนึก
(3) จิตใต้สำนึก
4. กลุ่มทฤษฎีบุคลิกภาพโดยแบ่งตามประเภท
4.2 ทฤษฎีบุคลิกภาพ ของเคริตชเมอร์
3.5.2 ทฤษฎีบุคลิกภาพ ของเคริตชเมอร์
ประเภทผอมสูง มีลักษณะตัวยาว แขนขายาว ท้องแฟบ มีอารมณ์อ่อนไหว ชอบคิดฝัน ขี้อาย พูดน้อย เงียบขรึม
ประเภทสมส่วน มีลักษณะล่ำสัน แข็งแรง มักจะมีบุคลิกแบบกล้าได้กล้าเสีย ชอบออกกำลังกาย ชอบต่อสู้
ประเภทอ้วนเตี้ย มีลักษณะอ้วน ท้องพลุ้ย ศีรษะใบหน้าลำตัวกลม จะมีบุคลิกชอบเปิดเผย ร่าเริง สนุกสนาน เสียงดัง
ประเภทส่วนไม่สมประกอบ มีลักษณะสภาพทางร่างกายผิดปกติไปจากคนทั่วไป เช่น ตัวใหญ่เกินไป เตี้ยเกินไป
มีปมด้อย มีบุคลิกภาพเจ้าอารมณ์ ขาดความเชื่อมั่น เจ้าคิดเจ้าแค้น หวาดระแวง
4.3 ทฤษฎีบุคลิกภาพ ของคาร์ล จี. จุง
3.5.3 ทฤษฎีบุคลิกภาพ ของคาร์ล กุสตาฟ จุง
ประเภทแบบแสดงตัว ลักษณะเด่นคือ มีบุคลิกภาพที่ชอบแสดงตัว ชอบพบปะสังสรรค์กับผู้อื่น เป็นคนเปิดเผย
ประเภทเก็บตัว ลักษณะเด่นคือ ไม่ชอบเข้าสังคม ขี้อาย เงียบเฉย สนใจตนเองมากกว่าสิ่งแวดล้อม
ประเภทแบบกลาง ๆ เป็นลักษณะบุคลิกภาพแบบกลาง ๆ ก้ำกึ่งระหว่างแบบเก็บตัวและแบบแสดงตัว
3.5.1 ทฤษฎีบุคลิกภาพตามลักษณะโครงสร้างร่างกาย ของเชลดอน
3.5.1 ทฤษฎีบุคลิกภาพตามลักษณะโครงสร้างร่างกาย ของเชลดอน
โครงสร้างผอมสูง ได้แก่บุคคลที่มีลักษณะผอมสูง ช่วงไหล่ห่อ ลำตัวบาง เอวเล็ก สะโพกเล็ก นิ้วมือเรียวยาม แขนขายาว
โครงสร้างสมส่วน ได้แก่ บุคคลที่มีลักษณะสมส่วน แข็งแรง ลำตัวตรง ไหล่กว้าง กล้ามเนื้อโครงสร้างกระดูกแข็งแรง
โครงสร้างอ้วนเตี้ย ได้แก่ บุคคลที่มีลักษณะอ้วนเตี้ย ลงพุง หน้ากลม กล้ามเนื้อและโครงสร้างกระดูกไม่แข็งแรง
แนวคิดเกี่ยวกับโครงสร้างของจิตมนุษย์
(1) จิตสำนึก
(2) จิตกึ่งสำนึก
(3) จิตใต้สำนึก
ทฤษฎีโครงสร้างบุคลิกภาพ ของฟรอยด์ มี 3 ระบบดังนี้
(1) อิด เป็นพลังงานทางจิตที่ซ่อมอยู่ภายใต้จิตสำนึกเป็นส่วนใหญ่หรือสัญชาตญาณที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิด
(2) อีโก้ เป็นพลังงานที่อยู่ใต้จำสำนึกและกึ่งสำนึกเป็นส่วนใหญ่ มีเหตุผลรับรู้ข้อเท็จจริงมีการยับยั้งช่างใจและมีการเลือกหนทางปฏิบัติที่เหมาะสมเป็นที่ยอมรับของสังคม
(3) ซูเปอร์อีโก้ เป็นพลังงานที่อยู่ภายในจิตสำนึกเป็นส่วนใหญ่ มักจะชอบทำตามระเบียบ กฎเกณฑ์ อย่างเคร่งครัด
2. กลุ่มทฤษฎีมนุษยนิยม
2.1 ทฤษฎีบุคลิกภาพ ของมาสโลว์
ความรู้สึกว่ามีปมด้อยและสร้างปมเด่นชดเชย
เมื่อรู้สึกว่าตนมีปมด้อย จะดิ้นรนเพื่อเอาชนะปมด้อย ด้วยการสร้องปมเด่น เพื่อสร้างความรู้สึกมั่นใจ ภูมิใจ เป็นที่ยอมรับของสังคม
3.3 กลุ่มทฤษฎีมนุษยนิยม
3.3.1 ทฤษฎีบุคลิกภาพ ของมาสโลว์ จำแนกความต้องการของคนทั้งหมด 5 ขั้น
ขั้นที่ 1 ความต้องการทางร่างกาย พื้นฐานเพื่อความอยู่รอด เช่น ต้องการอาหาร น้ำดื่ม อากาศ
ขั้นที่ 2 ความต้องการความปลอดภัย ปลอดภัยทั้งกายและใจ รวมไปถึงความมั่นคงในชีวิต หน้าที่การงาน
ขั้นที่ 3 ความต้องการความรักและความเป็นเจ้าของ จะพยายามสร้างมิตรภาพ ความใกล้ชิดผูกผันกับบุคคลทั้งหลาย
ขั้นที่ 4 ความต้องการการยกย่องนับถือ แสวงหายศถาบรรดาศักดิ์ ตำแหน่งหน้าที่การงาน เพื่อให้ผู้อื่นชื่นชมยกย่องนับถือ
ขั้นที่ 5 ความต้องการเข้าใจในตนเองอย่างถ่องแท้ ความรู้ที่ตนมีทั้งหมดเพื่อใช้ก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งต่อตนเองและสังคม
2.2 ทฤษฎีตัวตน ของโรเจอร์
3.3.2 ทฤษฎีตัวตน ของโรเจอร์ จำแนกความรู้สึกนึกคิดต่อตนเองแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ ได้แก่
ตนที่ตนรับรู้ หมายถึง ภาพของตนที่คิดว่าตนเองเป็นตามที่นึกได้ แต่ไม่จำเป็นนึกได้ทั้งหมดในคราวเดียว
ตนตามความเป็นจริง บ่อยครั้งไม่เห็นความจริงเกี่ยวกับตนเอง เพราะบางคนอาจจะเข้าข้างตนเองไม่ยอมรับตามที่คตนเป็น
เพราะรู้สึกไม่ทัดเทียมกับผู้อื่น ทำให้รู้สึกเศร้าเสียใจ
ตนตามอุดมคติ ตัวตนที่บุคคลอยากได้อยากเป็นแต่ยังไม่เกิดขึ้นในปัจจุบันเป็นความปรารถนาที่ทุกคนมีไว้ในใจอยู่แล้ว
3. กลุ่มทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม
3.2 ทฤษฎีการเรียนรู้จากตัวแบบ ของแบนดูร่า
ทฤษฎีการเรียนรู้จากตัวแบบ ของแบนดูร่า
1 .ขั้นให้ความสนใจ ถ้าไม่มีขั้นตอนนี้การเลียนแบบอาจจะไม่เกิดขั้นเป็นขั้นตอน
ขั้นจำ เมื่อผู้เลียนแบบสนใจพฤติกรรมของตัวแบบ
จะบันทึกสิ่งที่สังเกตไว้ในระบบความจำของตนเอง
ขั้นปฏิบัติ ผู้เลียนแบบปฏิบัติตามอย่างตัวแบบ
ขั้นจูงใจ ถ้าผลการเลียนแบบเป็นไปใน(ทางบวก)ก็จะจูงใจให้ผู้เลียนแบบอยากแสดงพฤติกรรมแบบนั้นต่อไป
ถ้าพฤติกรรม(ทางลบ)พฤติกรรมการเลียนแบบนั้นจะค่อย ๆ หายไป
3.1 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบจงใจกระทำ ของสกินเนอร์
3.4.1 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบจงใจกระทำ ของสกินเนอร์
การเสริมแรงทางบวก หมายถึง สิ่งเร้าที่ใข้ในการเสริมทางบวก
ได้แก่ ของขวัญ รางวัล การชมเชย
การเสริมแรงทางลบ หมายถึง สิ่งเร้าที่สร้างความทุกข์
และความไม่พึงพอใจให้กับร่างกาย
การลงโทษ หมายถึง การทำให้อันตราตอบสนองพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมลดลง การลงโทษมี 2 วิธีคือ
(1)การลงโทษทางบวก (2)การลงโทษทางลบ