Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pneumonia With Sepsis With Respiratory failure With Hypertensive Emergency…
Pneumonia With Sepsis With Respiratory failure With Hypertensive Emergency
อาการสำคัญ
มีไข้ ไอ refer จากโรงพยาบาลลาดหลุมแก้วเพื่อทำการรักษาโดยใช้เครื่องช่วยหายใจและตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
ประวัติเจ็บป่วยในปัจจุบัน
1 วันก่อนมาโรงพยาบาล ไข้ ไอ ปวดเมื่อยตามตัว ขณะ X-ray มีอาการหายใจเหนื่อยหอบ ได้ยินเสียง Wheezing both lung Film CXR Infiltrationจึง refer จากโรงพยาบาลลาดหลุมแก้ว มาที่โรงพยาบาลปทุมธานีเพื่อทำการ รักษาโดยใช้เครื่องช่วยหายใจและตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง 8 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้ ไอ
พยาธิสภาพ
เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย ผ่านโพรงจมูก หลอมลม แพร่กระจายไปยังปอดเข้าสู่ถุงลม macrophages จะคอยทำลายสิ่งแปลกปลอม เมื่อตาย macrophages จะทำให้บริเวณนั้นเกิดการอักเสบ เกิดน้ำ หรือ หนองในถุงลม ทำให้หลอดเลือดฝอดไม่สามารถแลกเปลี่ยนก๊าซได้ ทำให้ออกซิเจนลดน้อยลง เกิด Hypoxemia
การแลกเปลี่ยนก๊าซบกพร่อง เนื่องจากพื้นที่การแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง
เนื้อเยื่อปรับตัวจากการดึงออกวิเจนจากHbและพลาสมามาใช้ ทำให้เนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนเพียงพอ
หากเนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ จะปรับตัวโดย anaerobic metabolism ทำให้ lactate ในเลือดสูง ทำให้การหายใจลดลง เนื่องจากหลอดเลืดส่วนปลายตีบ เลือดออกจากหัวใจเพิ่มมากขึ้น ทำให้ออกซิเจนในเลือดสูงแต่ไม่สามารถใช้งานได้ เกิดลิ่มเลิดอุดตัน เนื้อเยื่อเสื่อมสภาพ ปอดไม่มีออกซิเจน
ลิ่มเลือดกระจายไปอุดตันตามส่วนต่างๆ จนเกิดการติดเชื้อ เกิดเป็น Sepsis
เกิด SIRS
Core temperature > 38.5 ºC หรือ < 36 ºC
Respiratory rate > 2 SD
Tachycardia โดย heart rate > 2 SD
จำนวนเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้นหรือลดต่ำลง
ความดันโลหิตต่ำ ชีพจรเต้นเร็ว หายใจเร็ว ปัสสาวะออกน้อย
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะน้ำเกินเนื่องจากไตสูญเสียหน้าที่
ไอ มีเสมหะ เจ็บหน้าอกขณะหายใจหรือไอ หายใจเร็ว หายใจหอบ หายใจลำบาก มีไข้ เหงื่อออก หนาวสั่น คลื่นไส้ อาเจียน หรือท้องเสีย อ่อนเพลีย
เกิดภาวะหายใจล้มเหลว
อุณหภูมิร่างกายสูงกว่าปกติเนื่องจากมีการติดเชื้อในร่างกาย
Retained Foley’s catheters
เสี่ยงต่อการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะเนื่องจากแบบแผนการขับถ่ายเปลี่ยนแปลง
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง โรคไตเรื้อรัง Stage 4 และมะเร็งต่อมลูกหมาก
การใช้สารเสพติดต่างๆ เช่น เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด
สูบบุหรี่ วันละ 2 มวน เลิกสูบมาแล้ว 1 เดือน
ปัจจัยเสี่ยง
เบาหวาน ความดันโลหิตสูง สูบบุหรี่ วันละ 2 มวน
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากมีระดับน้ำตาลในเลือดสูง
ปกติร่างกายมีระบบการควบคุมระดับของปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงตามอวัยวะต่างๆ ของร่างกายให้คงที่ โดยกลไกของร่างกายที่เรียกว่า autoregulation เมื่อความดันโลหิต
สูงขึ้น แดงจะหดตัว เพื่อรักษาความดันในหลอดเลือดแดงขนาดเล็กส่วนปลายไม่ให้มากเกินไป อย่างไรก็ตามเมื่อความดันโลหิตสูงมากยิ่งขึ้น
จะเกิดการเพิ่มขึ้นของ systemic vascular resistance ทำให้เกิดความดันโลหิตสูงในหลอดเลือดแดงขนาดเล็กอย่างรวดเร็ว เกิดการฉีกขาดของผนังหลอดเลือด plasma จะแทรกซึมเข้าสู่ผนังหลอดเลือดแดง systemic vascular resistanceทำให้อวัยวะส่วนปลายขาดเลือด
เสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง เนื่องจากความดันโลหิตสูง
รักษาด้วยยา Nicardipine (1:5) v 10 cc/hr keepSBP<= 160ตามแผนการรักษา
นางสาวธนพร รูปทรง เลขที่ 31 ปี 3A รหัส 613601032