Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรับผู้ป่วยใหม่และการจำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล - Coggle Diagram
การรับผู้ป่วยใหม่และการจำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล
11.1ชนิดของการรับผู้ป่วยใหม่
11.1.1ผู้ป่วยใน
1.วางแผนเป็นผู้ป่วยในหรือกรณีไม่เร่งด่วน
2.การรับแบบฉุกเฉินเป็นการนอนพักรักษาในโรงพยาบาลแบบไม่ได้วางแผนไว้
3.การรับโดยตรงเป็นการนอนพักรักษาในโรงพยาบาลแบบไม่ได้วางแผนไว้ ไม่ได้ตรวจที่แผนกฉุกเฉิ
11.1.2ผู้ป่วยนอก
11.2หลักการส่งเสริมการปรับตัวของผู้ป่วยที่อยู่ในโรงพยาบาล
11.2.1ความแปลกใหม่ต่อสถานที่สิ่งแวดล้อมบุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ต่างๆของโรงพยาบาลและการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันรวมถึงข้อระเบียบปฏิบัติต่างๆ
11.2.2ความกังวลต่อความเจ็บป่วย
11.2.3ประสบการณ์ในอดีตมีความสำคัญต่อการแสดงออกของผู้ป่วย
11.2.4การคำนึงถึงความเป็นบุคคลของผู้ป่วย
11.2.5ความเชื่อและพฤติกรรมต่างๆเป็นของผู้ป่วย
11.2.6การวางแผนให้การพยาบาลโดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากการสังเกตและการซักถามต่างๆ
11.3วัตถุประสงค์และขั้นตอนการรับผู้ป่วยใหม่
11.3.1วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยและญาติมีความรู้และปฏิบัติตามกฎระเบียบและกิจวัตรของโรงพยาบาลได้อย่างถูกต้อง
11.3.2การเตรียมอุปกรณ์
1.เตรียมเตียงหรือห้องพักผู้ป่วย
2.เอกสารรายงานการรับผู้ป่วยใหม่หรือแบบบันทึกต่างๆ
3.อุปกรณ์ที่จำเป็นตามความเหมาะสมสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย
4.เครื่องมือตรวจสัญญาณชีพน้ำหนักและส่วนสูง
5.สมุดบันทึกการรับใหม่
6.เครื่องใช้ส่วนตัว
11.3.3ขั้นตอนการรับผู้ป่วยใหม่
1.เตรียมสิ่งแวดล้อมเพื่อรับผู้ป่วยใหม่
2.สร้างสัมพันธภาพ
3.ตรวจสอบชื่อนามสกุลของผู้ป่วยการลงทะเบียนรับเป็นผู้ป่วยใน และลายเซ็นรับผู้ป่วยของแพทย์จากบัตรตรวจโรค
4.ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงตามสภาพอาการของผู้ป่วย
5.นำผู้ป่วยไปที่เตียงแนะนำให้รู้จักผู้ป่วยอื่นที่อยู่ร่วมห้องและให้นอนพักสักครู่
6.วัดอุณหภูมิชีพจรการหายใจและความดันโลหิตเพื่อเป็นการประเมินสภาพแรกรับไว้เป็นข้อมูลพื้นฐาน
7.อธิบายกิจกรรมการรักษาพยาบาลที่จะให้ผู้ป่วยและให้คำแนะนำ
8.ให้ผู้ป่วยหรือญาติที่มีสิทธิตามกฎหมายเซ็นอนุญาตหรือยินยอม เข้ารับการตรวจรักษา
9.เก็บรวบรวมข้อมูลผู้ป่วย
10.ให้ความช่วยเหลือหรือให้คำแนะนำในการอาบน้ำแรกรับเข้ารักษาในโรงพยาบาลเปลี่ยนใช้เสื้อผ้าของโรงพยาบาลพร้อมทั้งสังเกตอาการทั่วไปของผู้ป่วยตลอดจนการประเมินสภาวะของผู้ป่วย
11.เบิกอาหารให้ผู้ป่วยที่เหมาะสมกับโรคและแผนการรักษา
12.นำป้ายข้อมือติดที่ข้อมือผู้ป่วยติดป้ายหน้าเตียงและป้ายแจ้งข้อที่ควรปฏิบัติกับผู้ป่วย
13.แจ้งแพทย์เจ้าของผู้ป่วยหรือแพทย์ประจำหอผู้ป่วยรับทราบการเข้ารับการรักษา
14.การรับแผนการรักษา
11.4 สาเหตุและอุปกรณ์การจำหน่ายผู้ป่วย
อุปกรณ์ในการจำหน่ายผู้ป่วย
รายงานผู้ป่วยทั้งหมด
สมุดจำหน่ายผู้ป่วย
เสื้อผ้าผู้ป่วย
บัตรประจำตัวของโรงพยาบาล
ใบนัด
ใบสั่งยา
กรณีถึงแก่กรรมให้เตรียมเครื่องใช้ในการอาบน้ำสำลีก๊อซบัตรติดข้อมือศพด้วย
ขั้นตอนจำหน่ายผู้ป่วย
1.การจำหน่ายผู้ป่วยกรณีแพทย์อนุญาตให้กลับบ้าน
1.ตรวจสอบแผนการรักษาของแพทย์เกี่ยวกับการจำหน่ายผู้ป่วย
2.แจ้งผู้ป่วยและญาติให้ทราบพร้อมทั้งแจ้งค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล
3.ให้ญาติผู้ป่วยไปซื้อยาตามใบสั่งยา
4.แนะนำผู้ป่วยให้สอดคล้องกับสภาพความเจ็บป่วยทั้งด้านร่างกาย
5.ให้ใบนัด
6.นำเสื้อผ้าและของมีค่าคืนให้ผู้ป่วยพร้อมทั้งช่วยแต่งกายให้เรียบร้อย
7.เตรียมล้อเข็น
8.ลงสมุดจำหน่ายผู้ป่วยลบรายชื่อออกจากกระดานรายชื่อ
9.เก็บอุปกรณ์ทำความสะอาดเพื่อรอรับผู้ป่วยใหม่ต่อไป
11.5บทบาทพยาบาลในการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยตามรูปแบบD-M-E-T-H-O-D
Diagnosis
ให้ความรู้เรื่องโรคที่เป็นอยู่เกี่ยวกับสาเหตุ/อาการ/การปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง
Medication
ให้ความรู้เกี่ยวกับยาที่ต้องรับประทานอย่างต่อเนื่องที่บ้าน
Environment&Economic
กระตุ้นให้ผู้ป่วย/ครอบครัว/ ผู้ดูแลเห็นความสำคัญของการใช้สถานบริการสุขภาพในชุมชนการจัดการสิ่งแวดล้อมที่บ้านให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพ
Treatment
แนะนำผู้ป่วย/ครอบครัว/ผู้ดูแลให้เข้าใจเป้าหมายการรักษาแนะนำให้ปฏิบัติกิจกรรมการรักษา
Health
ให้ความรู้เกี่ยวกับข้อจำกัดในการทำกิจกรรมให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพ
Outpatient referral
ชี้แจงให้ผู้ป่วย/ครอบครัว/ผู้ดูแลตระหนักและเข้าใจถึงความสำคัญของการมาตรวจตามนัดและอาการผิดปกติที่ต้องมาก่อนนัด
Diet
ให้ความรู้เรื่องอาหารเฉพาะโรค
11.6 ข้อบ่งชี้และการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรม
1.Algor mortisอุณหภูมิของร่างกายลดลง1◦C(1.8◦F)ต่อชั่วโมงจนเท่าอุณหภูมิห้อง
2.Livor mortisเมื่อการไหลเวียนเลือดหยุดผิวหนังจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงคล้ำๆ
3.Rigor mortisคือการแข็งทื่อของร่างกายหลังเสียชีวิต ประมาณ2-4ชั่วโมง