Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยเด็กวัยทารก อายุ 7 วัน Preterm with maternal overt DM with…
ผู้ป่วยเด็กวัยทารก อายุ 7 วัน
Preterm with maternal overt DM with hypoglycemia
ข้อมูลพื้นฐาน
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว : มารดามีโรคประจำตัวเป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ รักษาที่โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี ได้รับยาการรักษา RI -16-10-10 เเละ NPH 10 u
ปฏิเสธการเเพ้ยา-เเพ้สารเคมี เเละโรคประจำตัว
PI : ทารกเพศหญิงGA 35 wks คลอด c/s เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2563 ที่โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี น้ำหนักเเรกคลอด 3,450 กรัม Apgar score 9,10 มือเท้าม่วงคล้ำ ขยับแขนขาได้ดี ไม่มีอาการเหนื่อย O2 sat 97% DTX = 13 mg% จึงส่งมาตึกกุมารเวชกรรม 3
CC : มือเท้าม่วงคล้ำ ขยับแขนขาได้
ดี ไม่มีอาการเหนื่อย O2 sat 87% 30 นาทีก่อนมา
ผลทางห้องปฏิบัติการ
TSH 23.210 ulu/ml
โลหิตวิทยา ( H )
MCH 34.8 pg
RDW 20.2%
Eo 0.9 %
Plt 129,000 ul
WBC 15,330 ul
Glucose plasma 35 mg/dL
ยาที่ผู้ป่วยที่ทารกได้รับ
Amikacin 51 mg iv q 24 hr
Gentamycin 14 mg iv q 24 hr
Cefotaxime 170 mg iv q 12 hr
Ampicillin 350 mg iv q 12 hr
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากปอดยังทำงานไม่สมบูรณ์
เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายจากภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
มีภาวะติดเชื้อในร่างกายเนื่องจากการทำงานภูมิคุ้มกันในทารกยังทำงานไม่สมบูรณ์
พยาธิสภาพ
ทารกคลอดก่อนกำหนด
สาเหตุ
ปัจจัยด้านมารดา เช่น โรคของมารดา เบาหวาน ควาดันโลหิตสูง
กระตุ้นให้ทารกคลอดก่อนกำหนด
มีผลต่อความผิดปกติระบบต่างๆ
ระบบทางเดินหายใจ
ถุงลมขยายตัวได้น้อยลง
ทารกหายใจมี retraction on oxygen canular (keep oxygen 95-98% )
หายใจเข้าออก ถุงลมจะเเฟบได้
ปอดพัฒนาไม่เต็มที เส้นเลือดฝอยมีน้อย
ทารกจึงหายใจลำบาก
ทำให้ทารกเกิดภาวะ hypoglycemia
โดยวิธี facilitated diffusion ผ่านทางรก
เนื่องจากขณะอยู่ในครรภ์ระดับน้ำตาลในเลือดของทารกประมาณร้อยละ70ถึง80 ของระดับ glucose ในเลือดของมารดา
ทารกจะเริ่มสร้าง glycogen สะสมในตับและกล้ามเนื้อ
เเต่ในระยะหลังคลอดกระบวนการ gluconeogenesis เกิดขึ้นได้น้อยมาก
ทำให้ทารกแรกคลอด จึงอาศัย glucose จากกระบวนการ glycolysis
หลังคลอดทารกจะใช้ glucose หมดและต้องพึ่งพา gluconeogenesis ในการรักษาระดับ glucose ในเลือด
ทารกจะต้องมีการปรับสมดุลในระยะเเรกอาศัยน้ำตาลที่สะสมในตับโดยการหลั่งกลูคากอนเพิ่มขึ้น มีการสลายไกลโคเจน กระบวนการสร้าง น้ำตาลขึ้นใหม่โดยอาศัยฮอร์โมน
เนื่องจากการทำงานของตับมีการสะสมไกลโคเจนในตับน้อย ทารกต้องใช้กลูโคสจำนวนมากเพื่อเป็นพลังงานในการเจริญเติบโต เกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำได้