Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรับผู้ป่วยใหม่และการจำหน่ายผู้ป่วยออกจาก โรงพยาบาล - Coggle Diagram
การรับผู้ป่วยใหม่และการจำหน่ายผู้ป่วยออกจาก
โรงพยาบาล
การส่งเสริมการปรับตัวของผู้ป่วยที่อยู่ในโรงพยาบาล
ประสบการณ์ในอดีตมีความสำคัญต่อการแสดงออกของผู้ป่วยพยาบาลควรจะพูดคุยกับผู้ป่วยโดยการซักถามถึงประสบการณ์ในอดีต
ความแปลกใหม่ต่อสถานที่สิ่งแวดล้อมบุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ต่างๆ ของโรงพยาบาล และการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
การคำนึงถึงความเป็นบุคคลของผู้ป่วย พยาบาลจะต้องให้เกียรติผู้ป่วยตามความเหมาะสม
ความกังวลต่อความเจ็บป่วย พยาบาลช่วยลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยได้โดยบอกให้ผู้ป่วยทราบถึงโรคที่ผู้ป่วยเป็นอยู่
การวางแผนให้การพยาบาลโดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากการสังเกตและการซักถามต่างๆ
ความเชื่อและพฤติกรรมต่างๆ เป็นของผู้ป่วยเนื่องจากผู้ป่วยแต่ละคนมีความแตกต่างในด้านนิสัยและการแสดงพฤติกรรม
วัตถุประสงค์และขั้นตอนการรับผู้ป่วยใหม่
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยและญาติมีความรู้และปฏิบัติตามกฎระเบียบและกิจวัตรของโรงพยาบาลได้อย่างถูกต้อง
ผู้ป่วยและญาติคลายความวิตกกังวล เต็มใจและให้ความร่วมมือในการรักษาพยาบาล
ผู้ป่วยมีความปลอดภัยและสุขสบายเพิ่มขึ้น
ผู้ป่วยได้รับการประเมินปัญหาและความต้องการทางร่างกาย และจิตสังคมได้ถูกต้อง
ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง เหมาะสมกับสภาพความเจ็บป่วย
ผู้ป่วยมีเครื่องใช้ที่จำเป็นในการรักษาพยาบาล
เหมาะสม ครบถ้วน
การเตรียมอุปกรณ์
เตรียมเตียงหรือห้องพัก
ผู้ป่วยให้พร้อม
เอกสารรายงานการรับผู้ป่วยใหม่หรือแบบบันทึกต่างๆ
แบบบันทึกต่างๆ สำหรับจัดทำแฟ้มผู้ป่วย
แบบบันทึกคำสั่งแผนการรักษาแพทย์
แบบบันทึกสัญญาณชีพและระดับความปวด
แบบบันทึกปริมาณสารน้ำเข้าออกร่างกาย
แบบประเมินภาวะสุขภาพ
แบบบันทึกคาร์เดกซ์
(Nursing kardex)
เป็นเหมือนบันทึกสั้นๆ ของพยาบาลที่บันทึกการรักษา การพยาบาล และกิจกรรมต่างๆ
แบบตรวจสอบการเข้าพักรักษาในโรงพยาบาล (Admission checklist)
อุปกรณ์ที่จำเป็นตามความเหมาะสมสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย
สมุดบันทึกการรับใหม่
เครื่องมือตรวจสัญญาณชีพ น้ าหนักและส่วนสูง
เครื่องใช้ส่วนตัว
บางโรงพยาบาลอาจมีเตรียมไว้ให้สำหรับผู้ป่วย
ขั้นตอนการรับผู้ป่วยใหม่
สร้างสัมพันธภาพ
เตรียมสิ่งแวดล้อมเพื่อรับผู้ป่วยใหม่
ตรวจสอบชื่อ นามสกุลของผู้ป่วย
นำผู้ป่วยไปที่เตียง แนะนำให้รู้จักผู้ป่วยอื่น
ที่อยู่ร่วมห้อง และให้นอนพักสักครู่
วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต
ชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูง
อธิบายกิจกรรมการรักษาพยาบาลที่จะให้ผู้ป่วย
เก็บรวบรวมข้อมูลผู้ป่วย
โดยการสัมภาษณ์ผู้ป่วยและญาติ
ให้ผู้ป่วยหรือญาติที่มีสิทธิตามกฎหมายเซ็นอนุญาต
หรือยินยอม
การรับแผนการรักษา
กรอกรายละเอียดแผนการรักษาในใบรับำสั่งแผนการรักษา
หากมีคำสั่งแผนการรักษาให้สารละลายทางหลอดเลือดด
อ่านแผนการรักษาทั้งเฉพาะวันและตลอดไป
ให้เข้าใจโดยตลอด
ปฏิบัติตามแผนการรักษา
ชนิดของการรับผู้ป่วยใหม่
ผู้ป่วยใน
(Inpatient)
ประเภทของผู้ป่วยใน
การรับโดยตรง
(Direct admission)
การนอนพักรักษาในโรงพยาบาลแบบไม่ได้วางแผนไว้
ไม่ได้ตรวจที่แผนกฉุกเฉิน
วางแผนเป็นผู้ป่วยในหรือกรณีไม่เร่งด่วน
(Planned or Non-urgent)
เป็นการรับแบบที่มีการจัดตารางนอนผู้ป่วยไว้ล่วงหน้า
การรับแบบฉุกเฉิน
(Emergency admission)
การนอนพักรักษาในโรงพยาบาลแบบไม่ได้วางแผนไว้ รักษาที่แผนกฉุกเฉินก่อนจนอาการคงที่จึงย้ายไปนอนพักรักษาตัวที่หอผู้ป่วย
ผู้ป่วยนอก
(Outpatient)
ระยะเวลาของการอยู่ในโรงพยาบาลน้อยกว่า 24ชั่วโมง เช่น กลุ่มที่มาตรวจเป็นครั้งๆ ที่แผนกตรวจผู้ป่วยนอก
สาเหตุและอุปกรณ์การจำหน่ายผู้ป่วย
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง
เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง
เพื่อให้ผู้ถึงแก่กรรมได้รับการปฏิบัติอย่างถูกต้องตามขนบธรรมเนียม
เพื่อให้ผู้ถึงแก่กรรมมีร่างกายสะอาด อยู่ในสภาพที่ดีที่สุด อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สงบเรียบร้อย
เพื่อได้รับการปฏิบัติที่ถูกต้องตามขั้นตอนของกฎหมาย
อุปกรณ์ในการจำหน่ายผู้ป่วย
รายงานผู้ป่วยทั้งหมด
ใบนัด
บัตรประจ าตัวของโรงพยาบาล
สมุดจำหน่ายผู้ป่วย
ใบสั่งยา
เสื้อผ้าผู้ป่วย
กรณีถึงแก่กรรมให้เตรียมเครื่องใช้ในการอาบน้ำ สำลี
ก๊อซ บัตรติดข้อมือศพด้วย
ประเภทการจำหน่ายผู้ป่วย
การจำหน่ายเนื่องจากผู้ป่วยถึงแก่กรรม
การจำหน่ายผู้ป่วยเนื่องจากมีการส่งต่อให้ไปรับการดูแลรักษายังสถานบริการสุขภาพอื่น
การจำหน่ายเนื่องจากผู้ป่วยหนีกลับ ในกรณีผู้ป่วยหนีกลับจะต้องแจ้งเจ้าหน้าที่พยาบาลเพื่อทำการบันทึกไว้เป็นหลักฐานในฟอร์มใบบันทึกทางการพยาบาล
การจ าหน่ายโดย ไม่สมัครอยู่พยาบาลจะต้องอธิบาย
ให้ผู้ป่วยและญาติทราบว่า ถ้ามีอะไรเกิดขึ้นกับผู้ป่วย
การจำหน่ายผู้ป่วยเมื่อมีอาการทุเลาลง
จากภาวะที่อันตราย
ขั้นตอนจำหน่ายผู้ป่วย
การจ าหน่ายผู้ป่วยกรณีแพทย์อนุญาตให้กลับบ้าน
การจำหน่ายผู้ป่วยเมื่อถึงแก่กรรม
บทบาทพยาบาลในการวางแผนจ าหน่ายผู้ป่วยตามรูปแบบ D-M-E-T-H-O-D
M=Medication
D=Diagnosis
E = Environment & Economic
H=Health
O=Outpatient referral
T = Treatment
D = Diet
การพยาบาลภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรมตามประเพณี และศาสนาของผู้ป่วย
การพยาบาลภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรมตามประเพณี
และศาสนาของผู้ป่วย
การอาบน้ำแต่งตัวศพหลังจากตายแล้ว ซึ่งพิธีอาบน้ำศพเป็นการทำให้ร่างกายสะอาดและแต่งตัวให้สมฐานะ
ของผู้ตาย ซึ่งประเพณีไทยใช้วิธีการรดน้ำศพเป็นการขอขมา
หลักปฏิบัติทางกฎหมายและระเบียบของโรงพยาบาล
กรณีที่เป็นอุบัติเหตุ ฆาตกรรม ให้แจ้งนิติเวช เพื่อหาสาเหตุการตาย
แพทย์จะเป็นผู้เขียนใบมรณบัตร แล้วญาตินำไปแจ้งที่อำเภอภายใน 24 ชั่วโมง
บางรายแพทย์ต้องการตรวจศพ (Autopsy) จะต้องได้รับอนุญาตจากญาติก่อน
การพยาบาลภายหลังถึงแก่กรรม
ป็นการเตรียมผู้ตายก่อนญาติเข้าไปดูศพ พยาบาลจะต้องเก็บอุปกรณ์การรักษาทุกชนิดออกจากศพ
และทำการแต่งศพให้เรียบร้อย
ข้อบ่งชี้และการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
ภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรม
Algor mortis
อุณหภูมิของร่างกายลดลง 1◦C(1.8◦F) ต่อชั่วโมงจนเท่าอุณหภูมิห้อง เนื่องจากการไหลเวียนเลือดหยุด และ Hypothalamus หยุดทำงาน
Livor mortis
เมื่อการไหลเวียนเลือดหยุด ผิวหนังจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงคล้ำๆ (Bluish purple) ตามบริเวณส่วนล่างของร่างกาย
Rigor mortis
การแข็งทื่อของร่างกายหลังเสียชีวิต ประมาณ 2-4 ชั่วโมง
เกิดจากการหดเกร็งของกล้ามเนื้อโครงกระดูก และกล้ามเนื้อเรียบ