Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรับผู้ป่วยใหม่และการจำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล - Coggle Diagram
การรับผู้ป่วยใหม่และการจำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล
ชนิดของการรับผู้ป่วยใหม่
1 ผู้ป่วยใน
1) วางแผนเป็นผู้ป่วยในหรือกรณีไม่เร่งด่วน (Planned or Non-urgent)
2) การรับแบบฉุกเฉิน (Emergency admission)
3) การรับโดยตรง (Direct admission) เป็นการนอนพักรักษาในโรงพยาบาลแบบไม่ได้วางแผนไว้ ไม่ได้ตรวจที่แผนกฉุกเฉิน
2 ผู้ป่วยนอก
หลักการพยาบาลภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรมตามประเพณีและศาสนา
1 การพยาบาลภายหลังถึงแก่กรรม
1) การแต่งศพ
2) วัตถุประสงค์ของการแต่งศพ
ดูแลจัดเก็บของใช้ ของต้องทิ้งหรือทำลายได้ถูกต้อง
ประสานงานหน่วยงานหรือบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
ดูแลจัดการตามข้อกฎหมาย
เขียนบันทึกรายงานที่เกี่ยวข้องได้ถูกต้อง
เตรียมศพให้สะอาด
3) ขั้นตอนการแต่งศพ
2 การพยาบาลภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรมตามประเพณี และศาสนาของผู้ป่วย
สำหรับศาสนาอิสลาม ใช้น้ำผสมการบูรหรือใบพุทราอาบน้ำให้ศพ และใช้ผ้ากะพัน (ผ้าห่อศพ) แทนการสวมเสื้อผ้า
คนจีนใช้น้ำผสมธูป ยอดทับทิมและใบเซียงเช่า เช็ดตัวศพเพื่อให้วิญญาณ ขึ้นสู่สวรรค์ และสวมเสื้อผ้าสวยงามพร้อมทั้งหมวกและรองเท้าให้กับผู้ตาย
3 หลักปฏิบัติทางกฎหมายและระเบียบของโรงพยาบาล
3) นำใบมรณะบัตรไปแจ้งที่วัดเพื่อเผาศพ
4) ในกรณีขอเคลื่อนย้ายศพออกจากเขตหรือข้ามจังหวัด ให้นำใบมรณะบัตรไป แจ้งเทศบาลหรือที่ว่าการเขต
2) นำใบรายงานของแพทย์ไปแจ้งเทศบาลหรือที่ว่าการเขตท้องถิ่นที่ที่บ้านตั้งอยู่ เพื่อแก้ไขทะเบียนบ้านภายใน 24 ชั่วโมง และขอใบมรณะบัตร
5) ผู้ตายไม่สามารถทำนิติกรรมใดๆได้อีกต่อไป
1) นำหลักฐานต่างๆ มายื่นให้กับเจ้าหน้าที่ในหอผู้ป่วย
การจำหน่วยผู้ป่วยโดยใช้หลัก D-METHOD
D = Diagnosis ให้ความรู้เรื่องโรคที่เป็นอยู่ เกี่ยวกับสาเหตุ อาการ การปฏิบัติตัว ที่ถูกต้อง
M = Medication ให้ความรู้เกี่ยวกับยาที่ต้องรับประทานอย่างต่อเนื่องที่บ้าน
E = Environment & Economic กระตุ้นให้ผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล เห็นความสำคัญของการใช้สถานบริการสุขภาพในชุมชน
H = Health ให้ความรู้เกี่ยวกับข้อจากัดในการทำกิจกรรมให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพ
O = Outpatient referral ชี้แจงให้ผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล ตระหนักและเข้าใจถึงความสาคัญของการมาตรวจตามนัดและอาการผิดปกติที่ต้องมาก่อนนัด
D = Diet ให้ความรู้เรื่องอาหารเฉพาะโรค หลีกเลี่ยงหรืองดอาหารที่เป็นอันตราย ต่อสุขภาพ
T = Treatment แนะนำผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล ให้เข้าใจเป้าหมายการรักษา
วัตถุประสงค์และขั้นตอนการรับผู้ป่วยใหม่
วัตถุประสงค์
1) ผู้ป่วยและญาติมีความรู้และปฏิบัติตามกฎระเบียบและกิจวัตรของโรงพยาบาล ได้อย่างถูกต้อง
2) ผู้ป่วยมีเครื่องใช้ที่จำเป็นในการรักษาพยาบาล เหมาะสม ครบถ้วน
3) ผู้ป่วยได้รับการประเมินปัญหาและความต้องการทางร่างกาย และจิตสังคม ได้ถูกต้อง
4) ผู้ป่วยและญาติคลายความวิตกกังวล เต็มใจและให้ความร่วมมือใน การรักษาพยาบาล
5) ผู้ป่วยมีความปลอดภัยและสุขสบายเพิ่มขึ้น
6) ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง เหมาะสมกับสภาพความเจ็บป่วย
การเตรียมอุปกรณ์
6) เครื่องใช้ส่วนตัว
4) เครื่องมือตรวจสัญญาณชีพ น้ำหนักและส่วนสูง
3) อุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย
2) เอกสารรายงานการรับผู้ป่วยใหม่หรือแบบบันทึกต่างๆ
5) สมุดบันทึกการรับใหม่
1) เตรียมเตียงหรือห้องพักผู้ป่วยให้พร้อม
การส่งเสริมการปรับตัวของผู้ป่วยที่อยู่ในโรงพยาบาล
1 ความแปลกใหม่ต่อสถานที่ สิ่งแวดล้อม บุคลากรทางการแพทย์
อธิบายและแนะนำถึงข้อปฏิบัติตัวต่างๆ ที่ผู้ป่วยต้องการทราบ
2 ความกังวลต่อความเจ็บป่วย พยาบาลช่วยลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยได้โดยบอกให้ผู้ป่วยทราบถึงโรคที่ผู้ป่วยเป็นอยู่
3 ประสบการณ์ในอดีตมีความสำคัญต่อการแสดงออกของผู้ป่วยจะทำให้ทราบทัศนคติของผู้ป่วย
4 การคำนึงถึงความเป็นบุคคลของผู้ป่วย พยาบาลจะต้องให้เกียรติผู้ป่วยตาม ความเหมาะสม
5 ความเชื่อและพฤติกรรมต่างๆ เป็นของผู้ป่วย เนื่องจากผู้ป่วยแต่ละคนมีความแตกต่างในด้านนิสัยและการแสดงพฤติกรรม
6 การวางแผนให้การพยาบาลโดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากการสังเกตและการซักถามต่างๆ
ข้อบ่งชี้ และการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของผู้ป่วยถึงแก่กรรม
เมื่อผู้ป่วยถึงแก่กรรม จะมีข้อบ่งชี้และการเปลี่ยนแปลงดังนี้
1 Algor mortis อุณหภูมิของร่างกายลดลง 1◦C (1.8◦F) ต่อชั่วโมงจนเท่าอุณหภูมิห้อง
2 Livor mortis เมื่อการไหลเวียนเลือดหยุด ผิวหนังจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงคล้ำๆ
11.6.3 Rigor mortis คือ การแข็งทื่อของร่างกายหลังเสียชีวิต ประมาณ 2-4 ชั่วโมง เกิดจากการหดเกร็งของกล้ามเนื้อโครงกระดูก และกล้ามเนื้อเรียบ
สาเหตุและอุปกรณ์การจำหน่ายผู้ป่วย
ประเภทการจำหน่ายผู้ป่วย
5) การจำหน่ายผู้ป่วยเนื่องจากมีการส่งต่อให้ไปรับการดูแลรักษายังสถานบริการสุขภาพอื่น
3) การจำหน่ายเนื่องจากผู้ป่วยหนีกลับ
2) การจำหน่ายโดยไม่สมัครอยู่พยาบาลจะต้องอธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบว่า ถ้ามีอะไรเกิดขึ้นกับผู้ป่วย แพทย์จะไม่รับผิดชอบใดๆ ทั้งสิ้น
4) การจำหน่าย เนื่องจากผู้ป่วยถึงแก่กรรม
1) การจำหน่ายผู้ป่วยเมื่อมีอาการทุเลาลงจากภาวะที่อันตราย
อุปกรณ์ในการจำหน่ายผู้ป่วย
1) รายงานผู้ป่วยทั้งหมด
2) สมุดจำหน่ายผู้ป่วย
3) เสื้อผ้าผู้ป่วย
4) บัตรประจำตัวของโรงพยาบาล
5) ใบนัด
6) ใบสั่งยา
7) กรณีถึงแก่กรรมให้เตรียมเครื่องใช้ในการอาบน้า สาลี ก๊อซ บัตรติดข้อมือศพด้วย
1 การจำหน่ายผู้ป่วยกรณีแพทย์อนุญาตให้กลับบ้าน
2) การจำหน่ายผู้ป่วยเมื่อถึงแก่กรรม
(1) ใช้มือลูบหนังตาผู้ป่วยให้ปิดลงเมื่อแพทย์ลงความเห็นว่าเสียชีวิต
(2) จัดท่าให้เร็วที่สุด ให้ตรงอยู่ในท่าที่สบาย
(3) ใส่อวัยวะปลอม (ถ้ามี)
(4) ผูกบัตรแข็งประจำตัวของโรงพยาบาลไว้ที่ข้อมือข้างหนึ่ง ส่วนอีกข้างหนึ่ง ผูกบัตรติดข้อมือศพที่เขียนไว้เรียบร้อย
(5) ภายหลังศพอยู่ในหอผู้ป่วยอย่างน้อย 2 ชั่วโมงตามเจ้าหน้าที่มารับศพ ตรวจความเรียบร้อย
(6) รวบรวมรายงานลงสมุดจำหน่าย