Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกหลังคลอด, e2dc72a51c33c38ea11319ca5e4d0e9f, นางสาวกาญจนา …
การพยาบาลทารกหลังคลอด
การพยาบาลทารก 24 ชั่วโมงหลัง หลังคลอด
การอาบน้ำดูแลผิวหนังและทำความสะอาดสะดือ
ประเมินความสามารถของมารดาอาบน้ำให้บุตร สาธิตการอาบน้ำเช็ดสะดืออย่างถูกวิธีและให้มารดาปฏิบัติในครั้งต่อไป
การอุ้มและห่อตัวทารก
การอุ้ม
ท่าอุ้มลูกฟุตบอล (Football Hold)
ท่านอน (Side Lying Position)
ท่านอนขวางบนตักแบบประยุกต์ (Cross-Cradle Hold)
ท่าลูกนอนขวางบนตัก (Cradle hold)
ห่อตัวทารก
จับแขนลูกแนบข้างลำตัวอย่างเบามือ แล้วยึดมุมของผ้าห่มมาพาดตัวลูก
เก็บมุมเข้าใต้สีข้างของลูกน้อยแล้วนำล่างของชายผ้าห่มขึ้นมา โดยเหลือเนื้อที่ให้ขาลูกเคลื่อนไหวได้อย่างอิสระ
วางผ้าห่อตัวทารกที่มีเนื้อผ้าอ่อนนุ่มลงบนที่นอน จากนั้นพับมุมหนึ่งของผ้าห่มแล้ววางลูกลงบนผ้าให้ศรีษะอยู่เหนือรอยพับ
จากนั้น ดึงมุมที่เหลือพาดตัวลูกและเก็บเข้าก้น โดยเหลือเนื้อที่พียงพอให้มือลูกเป็นอิสระ
การประเมิน LATCH SCORE
T = Type of nipple
1 = หัวนมแบน หรือหัวนมสั้น หรือหัวนมใหญ่เมื่อเทียบกับปากทารก
2 = หัวนมชี้พุ่งปกติ หรือหลังจากถูกกระตุ้น
0 = หัวนมบอด บุ๋ม
C = Comfort breast and nipple
1 = มีรอยแดงบริเวณเต้านม หัวนมมีรอยพองเล็กน้อยและเจ็บปานกลาง
2 = เต้านมและหัวนมนุ่มอาจรู้สึกเจ็บเล็กน้อยขณะลูกดูด
0 =เต้านมคัดมากหัวนมแตกเป็นแผล เลือดออกและเจ็บรุนแรงมาก
A = Audible swalloring
1 = ได้ยิน 2-3 ครั้ง หลังกระตุ้นให้ดูด
2 = อายุ < 24 ชั่วโมงได้ยินเป็นช่วงๆ อายุ > 24 ชั่วโมงได้ยินบ่อยครั้ง
0 = ไม่ได้ยินเสียงกลืน
H = Hold
1 = ต้องการความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่บางส่วน เช่น ยกหัวเตียง จัดหมอนรองตัวทารก
2 = ไม่ต้องการความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ แม่สามารถอุ้มและจัดท่าด้วยตนเอง
0 = ต้องการความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่อย่างเต็มที่
L = Latch
1 = ใช้ความพยายามหลายครั้ง หรือกระตุ้นจึงอมหัวนมและลานนม
2 = คาบหัวนมและลานนม ริมฝีปากบานออก ดูดนมเป็นจังหวะ
0 = ง่วงหรือลังเลจนอม ดูดหัวนมไม่ได้
การส่งเสริมสัมพันธภาพทารกและครอบครัว
Attachment (สัมพันธภาพ)
ความรู้สึกรักใคร่ ผูกพันธ์ระหว่างทารกกับพ่อแม่
หรือผู้เลี้ยงดู เกิดจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเป็นพิเศษ และคงอยู่ถาวร
เกิดขึ้นทีละเล็กลัน้อยจากความใกล้ชิด ความห่วงใย อาทร
เพิ่มความผูกพันธ์ทางใจ ใช้เวลาพัฒนาต่อเนื่องและยาวนาน
Bonding ความผูกพัน
เกิดขึ้นตั้งแต่วางแผนการตั้งครรภ์ทราบว่าตั้งครรภ์เกิดขึ้นชัดเจน
เมื่อรู้ว่าลูกดิ้น และเพิ่มสูงสุดเมื่อทารกคลอดออกมา
กระบวนการผูกพันทางอารมณ์ที่พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูมีต่อทารกฝ่ายเดียว
การพยาบาลทารก 24 ชั่วโมงแรก หลังคลอด
การตรวจประเมินในระยะแรกเกิดทันที
การวัดสัญญาณชีพ
อัตราการหายใจ
30 – 60 ครั้ง/นาที การนับอัตราการหายใจต้องนับเต็ม 1 นาที
ความดันโลหิต
Systolic BP 50 – 70 mmHg
Diastolic BP 30 – 45 mmHg.
จะอยู่ในระดับ 90/60 mmHg. ประมาณวันที่ 10 หลังคลอด
ชีพจร
110 – 160 ครั้ง/นาที อาจลดลงได้ถึง 80 ครั้ง/นาที ในขณะหลับ
เพิ่มขึ้นได้ถึง 180 ครั้ง/นาทีในขณะร้องไห้
การนับต้องนับเต็ม 1 นาที
อุณหภูมิกาย
ค่าปกติ 36.5 – 37.5º C
วัดทางรักแร้ 36.4 – 37.2 º C
วัดทางผิวหนัง 36 – 36.5 º C
วัดทางทวารหนัก 36.6 – 37.2 º C
การประเมินทารกแรกเกิดด้วยการใช้ระบบ Apgar scoring
G = Grimace (reflex irritability) การไอ จาม การร้องไห้เมื่อถูกกระต้น
A = Activity (muscle tone) การเคลื่อนไหวของแขนขา
P = Pulse (heart rate) อัตราการเต้นของหัวใจ
A = Appearance (color) สภาพทั่วไปของทารก
R = Respiratory (Respiratory effort) การหายใจ
การตรวจร่างกายทารกแรกเกิด
**ความยาว,น้ำหนักตัว,รอบศีรษะ,รอบอก (Length, Head and Chest circumference
น้ำหนักตัว
ปกติ 2,500 - 4,000 กรัม
6 เดือนแรก 198 กรัม / สัปดาห์
ความยาว
ปกติ 44 - 55 cm.
6 เดือนแรก 2.5 cm/mont
รอบศีรษะ
วักจากเส้นรอบศีรษะที่กว้างที่สุด
ปกติยาว 33-35 cm.
รอบอก
ปกติ 30-33
ลักษณะทั่วไป (general appearance)
ผิวหนัง (skin)
ศีรษะ (head)
ช่องท้อง (abdomen)
ตา (eyes)
หู (ears)
จมูก (nose)
ปากและคอ (mouth and throat)
ทรวงอก (chest)
อวัยวะเพศ (Genitalia)
แขนขาและหลัง (Extremities and back)
ระบบประสาท (Neurologic system)
3) Tonic neck reflex
Rooting reflex (การดูด)
2) Grasping reflex
Sucking reflex (การกลืน)
1) Moro reflex
Stepping reflex (การงอขา ก้าวขา)
Plantar reflex (จักจี้ จนเท้างอเป็น J )
นางสาวกาญจนา นันทะสาร นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 3