Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรับผู้ป่วยใหมและการจำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล - Coggle Diagram
การรับผู้ป่วยใหมและการจำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล
ชนิดของการรับผู้ป่วยใหม่
ผู้ป่วยใน
วางแผนเป็นผู้ป่วยในหรือกรณีไม่เร่งด่วน
หรือเป็นผู้ป่วยในตามปกติ
ผู้ป่วยที่นัดมาทำการผ่าตัด
นัดมาตรวจวิเคราะห์โรค
การรับแบบฉุกเฉิน
เป็นการนอนพักรักษา ในโรงพยาบาลแบบไม่ได้วางแผนไว้ รักษาที่แผนกฉุกเฉินก่อนจนอาการคงที่จึงย้ายไปนอนพักรักษาตัว ที่หอผู้ป่วย
ได้รับอุบัติเหตุ
หมดสติ
การรับโดยตรง
เป็นการนอนพักรักษาในโรงพยาบาลแบบไม่ได้ วางแผนไว้ ไม่ได้ตรวจที่แผนกฉุกเฉิน อาจตรวจที่แผนกตรวจ
ผู้ป่วยนอก และรับเข้าพักที่หอผู้ป่วยโดยตรง
ท้องเสีย
มีอาการชัก
ผู้ป่วยนอก
เมื่อตรวจเสร็จแล้วแพทย์อนุญาตให้กลับบ้านได้ หรือกลุ่มที่ได้รับการผ่าตัดเล็ก การให้ยาเคมีบำบัดแบบเป็นครั้งๆ
เป็นลม
แพ้อาหาร
หลักการส่งเสริมการปรับตัวของ
ผู้ป่วยที่อยู่ในโรงพยาบาล
ความแปลกใหม่ต่อสถานที่ สิ่งแวดล้อม บุคลากรทางการแพทย์ และเจ้าหน้าที่ต่างๆ ของโรงพยาบาล และการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
ให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์ต่อตัวผู้ป่วย
ความกังวลต่อความเจ็บป่วย
พยาบาลช่วยลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยได้โดยบอกให้ ผู้ป่วยทราบถึงโรคที่ผู้ป่วยเป็นอยู่
การพยากรณ์โรค และการรักษา
ประสบการณ์ในอดีตมีความสาคัญ
ต่อการแสดงออกของผู้ป่วย
ทำให้ทราบทัศนคติของผู้ป่วยเพื่อนาข้อมูลที่ได้
มาใช้ในการวางแผนการให้การพยาบาลต่อไปได้ดี
การคำนึงถึงความเป็นบุคคลของผู้ป่วย
พยาบาลจะต้องให้เกียรติผู้ป่วยตาม ความเหมาะสม
ซึ่งการเรียกผู้ป่วยควรเรียกชื่อ และมีคานาหน้านามที่เหมาะสม
ความเชื่อและพฤติกรรมต่างๆ เป็นของผู้ป่วย
พยาบาลควรยอมรับไม่แสดงความดูถูก
การวางแผนให้การพยาบาลโดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากการสังเกตและการซักถามต่างๆ
จะมีประสิทธิภาพหากผู้ป่วยมีส่วนร่วม
ในการวางแผนด้วย
วัตถุประสงค์และขั้นตอนการรับผู้ป่วยใหม่
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยและญาติมีความรู้และปฏิบัติตามกฎระเบียบ
และกิจวัตรของโรงพยาบาล ได้อย่างถูกต้อง
ผู้ป่วยมีเครื่องใช้ที่จาเป็นในการรักษาพยาบาล เหมาะสม ครบถ้วน
ผู้ป่วยได้รับการประเมินปัญหาและความต้องการทางร่างกาย และจิตสังคมได้ถูกต้อง
ผู้ป่วยและญาติคลายความวิตกกังวล เต็มใจ
และให้ความร่วมมือใน การรักษาพยาบาล
ผู้ป่วยมีความปลอดภัยและสุขสบายเพิ่มขึ้น
ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง
เหมาะสมกับสภาพความเจ็บป่วย
การเตรียมอุปกรณ์ เมื่อได้รับแจ้งจากแผนกผู้ป่วยนอกในการรับผู้ป่วยเข้ารักษาไว้ในโรงพยาบาล
การรับแผนการรักษา เป็นกระบวนการถ่ายทอดแผนการรักษาจากแผ่นคำสั่งการรักษาไปสู่การปฏิบัติ
สาเหตุและอุปกรณ์การจำหน่ายผู้ป่วย
ประเภทการจำหน่ายผู้ป่วย
การจำหน่ายผู้ป่วยเมื่อมีอาการทุเลาลง
จากภาวะที่อันตราย ฟื้นหายจากโรค
ต้องได้รับอนุญาตจากแพทย์ผู้ทำการรักษาเป็นลายลักษณ์อักษรจึงจะจำหน่ายได้
การจำหน่ายโดย ไม่สมัครใจอยู่พยาบาล
ต้องเซ็นชื่อเป็นหลักฐานไว้ว่าไม่สมัครใจ
อยู่ในใบเซ็นไม่สมัครใจรับการรักษา
การจำหน่ายเนื่องจากผู้ป่วยหนีกลับ
พยาบาลทำการบันทึกไว้เป็นหลักฐานและแจ้งเหตุที่จำหน่าย เพื่อป้องกันความผิดพลาด
การจำหน่าย เนื่องจากผู้ป่วยถึงแก่กรรม
การจาหน่ายผู้ป่วยเนื่องจากมีการส่งต่อให้ไปรับการดูแลรักษายังสถานบริการสุขภาพอื่น
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้องเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง
เพื่อให้ผู้ถึงแก่กรรมได้รับการปฏิบัติอย่างถูกต้องตามขนบธรรมเนียม และความเชื่อทางศาสนา
เพื่อให้ผู้ถึงแก่กรรมมีร่างกายสะอาด อยู่ในสภาพที่ดีที่สุด อยู่ในสิ่งแวดล้อม ที่สงบเรียบร้อย
เพื่อได้รับการปฏิบัติที่ถูกต้องตามขั้นตอนของกฎหมาย
บทบาทพยาบาลในการวางแผนจาหน่ายผู้ป่วยตามรูปแบบ D-M-E-T-H-O-D
D = Diagnosis
ให้ความรู้เรื่องโรคที่เป็นอยู่ เกี่ยวกับสาเหตุ อาการ การปฏิบัติตัว ที่ถูกต้อง
M = Medication
ให้ความรู้เกี่ยวกับยาที่ต้องรับประทานอย่างต่อเนื่องที่บ้าน ชื่อยา ฤทธิ์ของยา วิธีการใช้ ขนาด จานวนครั้ง ระยะเวลาที่ใช้ ข้อควรระวังในการใช้ยา ผลข้างเคียง ข้อห้ามสำหรับการใช้ยา และการเก็บรักษายา
E = Environment & Economic
กระตุ้นให้ผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล เห็นความสำคัญ ของการใช้สถานบริการสุขภาพ
ในชุมชน การจัดการสิ่งแวดล้อม
ที่บ้านให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพ
T = Treatment
แนะนาผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล ให้เข้าใจเป้าหมายการรักษา แนะนำ ให้ปฏิบัติกิจกรรมการรักษา
H = Health
ให้ความรู้เกี่ยวกับข้อจากัดในการทากิจกรรม
ให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพ กระตุ้นให้ผู้ป่วย/ ญาติ มีส่วนร่วมในการเลือกกิจกรรมที่เหมาะสมกับภาวะสุขภาพ รวมทั้งปรับตัว เพื่อส่งเสริมการฟื้นฟูสภาพ และการป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ
O = Outpatient referral
lชี้แจงให้ผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล ตระหนักและเข้าใจถึง ความสาคัญของการมาตรวจตามนัดและอาการผิดปกติที่ต้องมาก่อนนัด
D = Diet
ให้ความรู้เรื่องอาหารเฉพาะโรค หลีกเลี่ยงหรืองดอาหารที่เป็นอันตราย ต่อสุขภาพ
แนะนำแหล่งประโยชน์หรือสถานที่ให้
คำปรึกษาเมื่อมีปัญหาเรื่องอาหาร
ข้อบ่งชี้และการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
ภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรม
Algor mortis
อุณหภูมิของร่างกายลดลง 1◦C (1.8◦F) ต่อชั่วโมงจนเท่าอุณหภูมิห้องเนื่องจากการไหลเวียนเลือดหยุด และ Hypothalamus หยุดทางาน
Livor mortis
เมื่อการไหลเวียนเลือดหยุด ผิวหนังจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงคล้ำตามบริเวณส่วนล่างของร่างกาย ซึ่งเป็นผลจากเม็ดเลือดแดงถูกทำลาย และตกตะกอนตาม แรงดึงดูดของโลก
Rigor mortis
การแข็งทื่อของร่างกายหลังเสียชีวิต ประมาณ 2-4 ชั่วโมง
เกิด จากการหดเกร็งของกล้ามเนื้อโครงกระดูก และกล้ามเนื้อเรียบ
การพยาบาลภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรม
ตามประเพณี และศาสนาของผู้ป่วย
วัตถุประสงค์ของการแต่งศพ
เตรียมศพให้สะอาด เรียบร้อย
พร้อมย้ายไปยังห้องศพ
ดูแลจัดการตามข้อกฎหมาย กฎระเบียบ
ของโรงพยาบาลและขนบธรรมเนียม ประเพณี
และวัฒนธรรมเชื้อชาติ ศาสนาของผู้ตาย
ดูแลจัดเก็บของใช้ ของต้องทิ้งหรือทำลายได้ถูกต้อง
ประสานงานหน่วยงานหรือบุคลากรที่เกี่ยวข้องได้ถูกต้อง
เขียนบันทึกรายงานที่เกี่ยวข้องได้ถูกต้อง