Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร - Coggle Diagram
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ด้านจิตวิทยา
ความรู้ ความคิดนิยม
กลุ่มเกสตอล์ท
การรับรู้และการเรียนรู้เป็นประสบการณ์ที่มีแบบแผน
ส่วนรวมสำคัญกว่าแต่ละส่วนมารวมกัน
กฎแห่งการเรียนรู้
Jean Piaget
พัฒนาการทางปัญญา4ขั้น
John Dewey
การเรียนู้เกิดจากการปฏิบัติและฝึกฝน
Robert M. Gagne
การเรียนรู้ของคนอาศัยการจัดทำข้อมูลของสมอง
ความสามารถในการเรียนรู้มี5ด้าน
เจตคติ
ทักษะ
คำพูด
ความคิด
สติปัญญา
มนุษยนิยม
Abraham Maslow
ความต้องการพื้นฐาน
ความปลอดภัย/มั่นคง
ความรักและความเป็นเจ้าของ
ทางร่างกาย
ได้รับความยกย่องนับถือ
ด้านสุนทรียภาพ
เข้าใจความเป็นจริงเกี่ยวกับตนเอง
Carl R. Rogers
บรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียนรู้
ยอมรับและให้เกียรติผู้เรียน
เป็นจริงตามธรรมชาติ
เข้าใจ เป็นกลาง ไม่อคติ
พฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสลิก
กฎแห่งการฝึกหัด
กฎแห่งผล
กฎแห่งความพร้อม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบปฏิบัติ
เรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมใหม่หรือซับซ้อน
เน้นพฤติกรรมที่สังเกตได้
มีการเสริมแรง
ด้านเศรษฐกิจ
การขยายตัวทางด้านอุตสหกรรม
ผลิตบัณฑิตเข้าสู่ภาคอุตสหกรรม
สอดคล้องและสมดุลกับตลาดแรงงาน
แนวโน้มและทิศทาง
การใช้ทรัพยากร
เกิดประโยชน์/รายได้สูงสุดและคุ้มค่า
กิจกรรมทางเศรษฐกิจครบวงจร
มีอยู่อย่างจำกัด
การพัฒนาอาชีพ
พัฒนาอาชีพตามศักยภาพ
สอดคล้องกับท้องถิ่น
เกษตรกร : ชนบท
การพัฒนาคุณลักษณะของบุคคลในระบบเศรษฐกิจ
นิยมสินค้าราคาสูง
เสริมความสามารถในการผลิต/งาน/อาชีพ
ซื้อสินค้าฟุ่มเฟือย/เพิ่มรายจ่าย
การเตรียมกำลังคน
เพียงพอ เมาะสม
สอดคล้องกับความต้องการ
ลดปัญหาการว่างงาน
การลงทุนทางการศึกษา
ผลตอบแทน:กำลังคน
ปริมาณและคุณภาพ
งบประมาณของรัฐ
ด้านการเมือง การปกครอง
นโยบายของรัฐ
การศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของระบบสังคม
การดำเนินงานระบบต่างๆต่อเนื่องและสอดคล้องกัน
รากฐานของประชาธิปไตย
บทบาท หน้าที่ของประชาชนด้านการเมือง การปกครอง
ความรู้ ความเข้าใจ พฤติกรรมประชาธิปไตย
สิทธิ หน้าที่ของประชานต่อรัฐ
ความรับผิดชอบต่อบ้านเมือง
ระบบการเมืองการปกครอง
ประสบการณ์เรียนรู้
การปลูกฝัง
เนื้อหาสาระ
นโยบายของรัฐ
สร้างความเข้าใจให้กับประชาชน
ด้านธรรมชาติผู้เรียน
พัฒนาการทางสังคมของผู้เรียน
Ercison (1953) : 8 ขั้น
ขั้นที่ 4 ระยะเข้าโรงเรียน อายุ 6-12ปี
ขั้นที่ 5 ระยะวัยรุ่น อายุ 12-20ปี
ขั้นที่ 3 ระยะก่อนไปโรงเรียน อายุ 3-6ปี
ขั้นที่ 6 ระยะต้นของวัยผู้ใหญ่ อายุ 20-40ปี
ขั้นที่ 2 ระยะเริ่มต้น อายุ 2-3ปี
ขั้นที่ 1 ระยะทารก อายุ 0-2ปี
ขั้นที่ 7 ระยะผู้ใหญ่ อายุ 40-60ปี
ขั้นที่ 8 ระยะวัยสูงอายุ อายุ 60ปีขึ้นไป
พัฒนาการทางจริยธรรมของผู้เรียน
Kohlberg (1976) : 3 ระดับ
ระดับที่ 2 ระดับจริยธรรมตามเกณฑ์สังคม
ขั้นที่ 4 กฎและระเบียบของสังคม
ขั้นที่ 3 การยอมรับของกลุ่ม/สังคม
ระดับที่ 3 ระดับจริยธรรมอย่างมีวิจารณญาณ
ขั้นที่ 5 สัญญาสังคม
ขั้นที่ 6 หลักการคุณธรรมสากล
ระดับที่ 1 ระดับก่อนเกณฑ์สังคม
ขั้นที่ 2 ระดับจริยธรรมของผู้อื่น
ขั้นที่ 1 ระดับจริยธรรมของตนเอง
พัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียน
Piaget (1952)
ธรรมชาติการเรียนรู้ของผู้เรียน
Kolb (1985) : ผู้เรียนตามลักษณะ 4 รูปแบบ
แบบคิดอเนกนัย
ใช้ประสบการณ์ ความรู้สึก
รับรู้และจินตนาการ
มองภาพรวม
แบบดูดซึม
ใช้เหตุผล
ไตร่ตรอง
สรุปหลักการ
แบบคิดเอกนัย
มีความเชี่ยวชาญ
นำไปใช้แก้ไขปัญหา
ทดลอง/ปฏิบัติ
แบบปรับปรุง
การปรับตัว
ลองผิดลองถูก
แสวงหาประสบการณ์
ด้านปรัชญาการศึกษา
สารัตถนิยม
ถือว่าบุคคลเป็นส่วนหนึ่งของสังคม
ครูศูนย์กลาง
เนื้อหาแยกรายวิชา
เน้นด้านความรู้
นิรันตรนิยม
ทุกคนเรียนเหมือนกัน
เนื้อหาช่วยพัฒนาปัญญาและจิตใจ
เน้นการดำรงชีวิต
พิพัฒนาการนิยม
พัฒนาทุกด้าน
เน้นปฏิบัติ
ถ่ายทอดวัฒนธรรม
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
อัตนิยม
ผู้เรียนมีอิสระ
เน้นปรับตัว เจอปัญหา
เน้นพัฒนาความสามารถและพัฒนาการ
ปฏิรูปนิยม
ผู้เรียนได้สำรวจความสนใจของตนเอง
สร้างสังคมให้ดี
เน้นประการณ์
ตารางสอนยืดหยุ่น
ด้านสังคมและวัฒนธรรม
ค่านิยม
สิ่งที่ทุกคนยอมรับ
การศึกษาจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ธรรมชาติของคนในสังคม
ต้องเกิดการเปลี่ยนแปลง
ยึดเหตุผลมากกว่าบุคคล
เคารพซึ่งกันและกัน
โครงสร้างสังคม
ชนบท
เมือง
การชี้นำสังคมในอนาคต
ตั้งรับการเปลี่ยนแปล
ยอมรับความต้องการและปัญหาสังคม
พัฒนาสังคมตามกระแสความเปลี่ยนแปลง
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
พัฒนาอย่างรวดเร็ว แบบไม่หยุดยั้ง
ยุคแห่งสารสนเทศ เรียนรู้ได้เท่าทันกัน
หลักสตร
พัฒนาคนให้ใช้เครื่องจักรและเทคโนโลยีได้อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ
ทันสมัย ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและความเจริญก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและอุตสหกรรม
การนำใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการศึกษา
มีความรู้ ความเข้าใจและนำไปใช้ประโยชน์
เรียนรู้และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง
วิธีการสอน อุปกรณ์ สื่อการสอนที่ทันสมัย
เรียนรู้ด้วยตนเองและเรียนรู้ได้กว้างขวาง