Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรับผู้ป่วยใหม่และการจำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล - Coggle Diagram
การรับผู้ป่วยใหม่และการจำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล
ชนิดของการรับผู้ป่วยใหม่
ผู้ป่วยใน (Inpatient)
การรับ แ บ บ ฉ ุก เ ฉิน (Emergency admission) เ ป็น ก า ร น อ น พัก รัก ษ าในโรงพยาบาลแบบไม่ได้วางแผนไว รักษาที่แผนกฉุกเฉินก่อนจนอาการคงที่จึงย้ายไปนอนพักรักษาตัวที่หอผู้ป่วย
การรับโดยตรง (Direct admission) เป็นการนอนพักรักษาในโรงพยาบาลแบบไม่ได้วางแผนไว้ ไม่ได้ตรวจที่แผนกฉุกเฉิน อาจตรวจที่แผนกตรวจผู้ป่วยนอก และรับเข้าพักที่หอผู้ป่วยโดยตรง
วางแผนเป็นผู้ป่วยในหรือกรณีไม่เร่งด่วน (Planned or Non-urgent) หรือเป็นผู้ป่วยในตามปกติ เป็นการรับแบบที่มีการจัดตารางนอนผู้ป่วยไว้ล่วงหน้า
ผู้ป่วยนอก (Outpatient) ระยะเวลาของการอยู่ในโรงพยาบาลน้อยกว่า 24 ชั่วโมง
วัตถุประสงค์และขั้นตอนการรับผู้ป่วยใหม่
การเตรียมอุปกรณ์เมื่อได้รับแจ้งจากแผนกผู้ป่วยนอกในการรับผู้ป่วยเข้ารักษาไว้ในโรงพยาบาล
อุปกรณ์ที่จำเป็นตามความเหมาะสมสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย
เครื่องมือตรวจสัญญาณชีพ น้ำหนักและส่วนสูง
เอกสารรายงานการรับผู้ป่วยใหม่หรือแบบบันทึกต่างๆ
แบบตรวจสอบการเข้าพักรักษาในโรงพยาบาล (Admission checklist)
ในบางแห่งอาจเรียก แบบตรวจสอบการรับผู้ป่วยใหม่ (Flow sheet)
แบบบันทึกต่าง ๆ สำหรับจัดทำแฟ้มผู้ป่วย
แบบบันทึกค าร์เดกซ์ (Nursing kardex) ซึ่งบางสถาบันอาจไม่ใช้แล้ ว
เป็นเหมือนบันทึกสั้นๆ ของพยาบาลที่บันทึกการรักษา การพยาบาล และกิจกรรมต่างๆ
สมุดบันทึกการรับใหม่
เตรียมเตียงหรือห้องพักผู้ป่วยให้พร้อมเพื่อต้อนรับการพักรักษาตัวของผู้ป่วย
เครื่องใช้ส่วนตัว บางโรงพยาบาลอาจมีเตรียมไว้ให้สำหรับผู้ป่วย กรณีไม่มีให้อาจแจ้งให้ผู้ป่วยหรือญาติเตรียมมาให้พร้อม
ขั้นตอนการรับผู้ป่วยใหม่
อธิบายกิจกรรมการรักษาพยาบาลที่จะให้ผู้ป่วย และให้คำแนะนำ
หน้าที่และความรับผิดชอบโดยคร่าวๆ ของเจ้าหน้าที่ในหอผู้ป่วย เวลาในการให้การพยาบาล เวลาทำกิจกรรมต่างๆ
แจ้งให้ผู้ป่วยเกี่ยวกับของมีค่าให้ญาติเอากลับบ้าน
สาธิตวิธีการใช้สิ่งต่างๆ
ผู้ป่วยสามารถเก็บของส่วนตัวที่ไม่ใช่ของมีค่าไว้ที่โต๊ะข้างเตียงซึ่งมีลิ้นชักใส่ของ
แนะนำสถานที่และสิ่งแวดล้อมภายในหอผู้ป่วย
แนะนำการปฏิบัติตั วที่เหมาะสมกับโ รค
ชี้แจงนโยบายของโรงพยาบาลและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการเป็นผู้ป่วย
ในการเยี่ยมของญาติ การใช้โทรศัพท์ การงดสูบบุหรี่ในโรงพยาบาล
ให้ผู้ป่วยหรือญาติที่มีสิทธิตามกฎหมายเซ็นอนุญาตหรือยินยอม เข้ารับการตรวจรักษา รับเลือด ผ่าตัด แล้วแต่กรณี และให้พยาบาลเซ็นชื่อเป็นพยาน
วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิตเพื่อเป็นการประเมินสภาพแรกรับไว้เป็นข้อมูลพื้นฐาน
เก็บรวบรวมข้อมูลผู้ป่วย โดยการสัมภาษณ์ผู้ป่วยและญาติ การตรวจร่างกาย
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจร่างกาย พยาบาลควรตรวจร่างกายผู้ป่วยเบื้องต้นดังนี้ การประเมิน
ระดับความรู้สึกตัว การรับรู้ถึงบุคคล สถานที่ เวลา และสถานการณ์ การสังเกตดูส่วนต่างๆ ของร่างกายทั่วไป หรือสังเกตอาการผิดปกติที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยก่อน
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ถ้าผู้ป่วยต้องได้รับการตรวจทางห้องปฏิบัติการพยาบาลต้องให้คำแนะนำถึงวิธีการเก็บสิ่งส่งตรวจ และคอยช่วยเหลือผู้ป่วยในการเก็บตัวอย่างส่งตรวจ
การสัมภาษณ์ผู้ป่วยและญาติ ได้แก่ อาการส าคัญที่มาโรงพยาบาล ประวัติความเจ็บป่วย และอาการเจ็บป่วยในปัจจุบัน ประวัติสุขภาพ
นำผู้ป่วยไปที่เตียง แนะนำให้รู้จักผู้ป่วยอื่นที่อยู่ร่วมห้อง และให้นอนพักสักครู่
ให้ความช่วยเหลือหรือให้ค าแนะน าในการอาบน้ าแรกรับเข้ารักษาในโรงพยาบาลเปลี่ยนใช้เสื้อผ้าของโรงพยาบาล พร้อมทั้งสังเกตอาการทั่วไปของผู้ป่วยตลอดจนการประเมินสภาวะของผู้ป่วยทั้งทางด้านร่างกาย และจิตใจ
ชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูง ตามสภาพอาการของผู้ป่วย ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวหรือไม่สามารถยืนได้ ไม่ต้องชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงนอกจากจะมีเครื่องชนิดนอนชั่ง
เบิกอาหารให้ผู้ป่วยที่เหมาะสมกับโรค และแผนการรักษา
ตรวจสอบชื่อ นามสกุลของผู้ป่วย การลงทะเบียนรับเป็นผู้ป่วยใน และลายเซ็นรับผู้ป่วยของแพทย์จากบัตรตรวจโรคของโรงพยาบาลให้ตรงกับเจ้าหน้าที่แผนกผู้ป่วยนอกที่แจ้งมา
นำป้ายข้อมือติดที่ข้อมือผู้ป่วย ติดป้ายหน้าเตียง และป้ายแจ้งข้อที่ควรปฏิบัติกับผู้ป่วย ทั้งนี้เพื่อเป็นการแจ้งให้แพทย์ พยาบาล และผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ ได้รับทราบและปฏิบัติตาม
สร้างสัมพันธภาพ ให้การต้อนรับผู้ป่วยและญาติด้วยถ้อยค า สีหน้า แววตา
กิริยาท่าทางที่เป็นมิตร สุภาพ อ่อนโยน สนใจ เข้าใจ เห็นใจ ยอมรับในตัวผู้ป่วยและญาติ
แจ้งแพทย์เจ้าของผู้ป่วยหรือแพทย์ประจำหอผู้ป่วยรับทราบการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลของผู้ป่วย ถ้ายังไม่มีค าสั่งแผนการรักษาแพทย์ควรเขียนค าสั่งแผนการรักษาทันที
เตรียมสิ่งแวดล้อมเพื่อรับผู้ป่วยใหม่โดย นำเหยือกน้ า แก้วน้ำ กระโถน ปรอทวัดไข้เครื่องวัดความดันโลหิต หูฟัง และอุปกรณ์อื่นๆ ที่จ าเป็นสำหรับผู้ป่วยเฉพาะราย
ลงทะเบียนรับผู้ป่วยใหม่ จัดท าแฟ้มประวัติ (Chart) ตรวจรับแผนการรักษา
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยได้รับการประเมินปัญหาและความต้องการทางร่างกาย และจิตสังคม
ได้ถูกต้อง
ผู้ป่ ว ย แ ล ะ ญ าติ คล า ย ค ว าม วิ ต ก กัง ว ล เ ต็มใ จแ ล ะให้ค ว าม ร่ ว มมื อใ นการรักษาพยาบาล
ผู้ป่วยมีเครื่องใช้ที่จำเป็นในการรักษาพยาบาล เหมาะสม ครบถ้วน
ผู้ป่วยมีความปลอดภัยและสุขสบายเพิ่มขึ้น
ผู้ป่วยและญาติมีความรู้และปฏิบัติตามกฎระเบียบและกิจวัตรของโรงพยาบาลได้อย่างถูกต้อง
ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง เหมาะสมกับสภาพความเจ็บป่วย
การรับแผนการรักษา
อุปกรณ์ ประกอบด้วย แผ่นค าสั่งการรักษา ใบรับคำสั่งแผนการรักษา ใบบันทึกการให้ยา ป้ายส าหรับติดขวดสารละลาย ปากกา
วิธีการรับแผนการรักษา
กรอกรายละเอียดแผนการรักษาในใบรับคำสั่งแผนการรักษา (แตกต่างกันไปแต่ละสถานพยาบาล) ใบบันทึกการให้ยา
หากมีคำสั่งแผนการรักษาให้สารละลายทางหลอดเลือดดำให้เขียนป้ายสำหรับติดขวดสารละลายตามจ านวนที่แพทย์ก าหนด
อ่านแผนการรักษาทั้งเฉพาะวันและตลอดไปให้เข้าใจโดยตลอด หากสงสัยหรือเขียนไม่ชัดเจนให้ถามแพทย์ผู้กำหนดแผนการรักษา รวมทั้งตรวจสอบใบค าขอส่งตรวจที่แพทย์ต้องเป็นผู้บันทึกว่าครบถ้วนหรือไม่
ปฏิบัติตามแผนการรักษา พร้อมทั้งทำเครื่องหมายหรือบันทึกชื่อผู้ทำในใบรับคำสั่งแผนการรักษา และ/ หรือใบบันทึกการให้ยา เพื่อทราบวันเวลาที่ได้ปฏิบัติการนั้นๆ รวมทั้งป้องกันการซ้ำซ้อนในการปฏิบัติพยาบาลอีกด้วย
วัตถุประสงค์ เพื่อถ่ายทอดแผนการรักษาไปสู่การปฏิบัติได้อย่างถูกต้องครบถ้วน
หลักการส่งเสริมการปรับตัวของผู้ป่วยที่อยู่ในโรงพยาบาล
ประสบการณ์ในอดีตมีความส าคัญต่อการแสดงออกของผู้ป่วย พยาบาลควรจะพูดคุยกับผู้ป่วยโดยการซักถามถึงประสบการณ์ในอดีตในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับโรงพยาบาล บุคลากรทางการแพทย์และพยาบาล และเจ้าหน้าที่ต่างๆ ของโรงพยาบาล
การคำนึงถึงความเป็นบุคคลของผู้ป่วย พยาบาลจะต้องให้เกียรติผู้ป่วยตามความเหมาะสม ซึ่งการเรียกผู้ป่วยควรเรียกชื่อ และมีคำนำหน้านามที่เหมาะสม
ความกังวลต่อความเจ็บป่วย พยาบาลช่วยลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยได้โดยบอกให้ผู้ป่วยทราบถึงโรคที่ผู้ป่วยเป็นอยู่ การพยากรณ์โรค และการรักษา
ความเชื่อและพฤติกรรมต่างๆ เป็นของผู้ป่วย
ความแปลกใหม่ต่อสถานที่ สิ่งแวดล้อม บุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ต่างๆของโรงพยาบาล และการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน รวมถึงข้อระเบียบปฏิบัติต่างๆ ของโรงพยาบาล
การวางแผนให้การพยาบาลโดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากการสังเกตและการซักถามต่างๆ
สาเหตุและอุปกรณ์การจำหน่ายผู้ป่วย
การจำหน่ายผู้ป่วย มีวัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ถึงแก่กรรมได้รับการปฏิบัติอย่างถูกต้องตามขนบธรรมเนียม และความเชื่อทางศาสนา
เพื่อให้ผู้ถึงแก่กรรมมีร่างกายสะอาด อยู่ในสภาพที่ดีที่สุด อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สงบเรียบร้อย
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง
เพื่อได้รับการปฏิบัติที่ถูกต้องตามขั้นตอนของกฎหมาย
เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้องเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
อุปกรณ์ในการจำหน่ายผู้ป่วย ประกอบด้วย
บัตรประจำตัวของโรงพยาบาล
ใบนัด
เสื้อผ้าผู้ป่วย
ใบสั่งยา
สมุดจำหน่ายผู้ป่วย
กรณีถึงแก่กรรมให้เตรียมเครื่องใช้ในการอาบน้ำ สำลี ก๊อซ บัตรติดข้อมือศพด้วย
รายงานผู้ป่วยทั้งหมด
ประเภทการจำหน่ายผู้ป่วย แบ่งออกเป็น 5 ประเภท
การจำหน่ายเนื่องจากผู้ป่วยหนีกลับ ในกรณีผู้ป่วยหนีกลับจะต้องแจ้งเจ้าหน้าที่พยาบาลเพื่อทำการบันทึกไว้เป็นหลักฐานในฟอร์มใบบันทึกทางการพยาบาล และแจ้งเหตุที่จำหน่าย เพื่อป้องกันความผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นในการปฏิบัติการให้การพยาบาล
การจ าหน่าย เนื่องจากผู้ป่วยถึงแก่กรรม ผู้ช่วยพยาบาลจะต้องให้ความช่วยเหลือในการให้ข้อมูล ตั้งแต่แรกรับถึงอาการรุนแรง การช่วยเหลือของแพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ และ การลงความเห็นของแพทย์ว่าไม่มีสัญญาณที่แสดงว่าผู้ป่วยมีชีวิตอยู่
การจำหน่ายโดย ไม่สมัครอยู่พยาบาลจะต้องอธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบว่าถ้ามีอะไรเกิดขึ้นกับผู้ป่วย แพทย์จะไม่รับผิดชอบใดๆ ทั้งสิ้น และต้องเซ็นชื่อเป็นหลักฐานไว้ว่าไม่สมัครใจอยู่ในใบเซ็นไม่สมัครใจรับการรักษา
การจำหน่ายผู้ป่วยเนื่องจากมีการส่งต่อให้ไปรับการดูแลรักษายังสถานบริการสุขภาพอื่น
การจ าหน่ายผู้ป่วยเมื่อมีอาการทุเลาลงจากภาวะที่อันตราย ฟื้นหายจากโรค
ซึ่งจะต้องได้รับอนุญาตจากแพทย์ผู้ท าการรักษาเป็นลายลักษณ์อักษรจึงจะจำหน่ายได้
ขั้นตอนจำหน่ายผู้ป่วย การจำหน่ายผู้ป่วยกรณีแพทย์อนุญาตให้กลับบ้านและการจ าหน่ายผู้ป่วยเมื่อถึงแก่กรรม
การจำหน่ายผู้ป่วยกรณีแพทย์อนุญาตให้กลับบ้าน
ให้ใบนัด พร้อมบัตรประจ าตัวของผู้ป่วย พร้อมทั้งให้คำแนะนำในเรื่อง
ความสำคัญของการมาตรวจตามนัด รายละเอียดของการนัด การเตรียมตัวในการมาตรวจตามนัด
นำเสื้อผ้าและของมีค่าคืนให้ผู้ป่วยพร้อมทั้งช่วยแต่งกายให้เรียบร้อย
แนะนำผู้ป่วยให้สอดคล้องกับสภาพความเจ็บป่วยทั้งด้านร่างกาย
ลงสมุดจำหน่ายผู้ป่วย ลบรายชื่อออกจากกระดานรายชื่อ
ให้ญาติผู้ป่วยไปซื้อยาตามใบสั่งยา ในกรณีที่ต้นสังกัดของหน่วยงานหรือ
โรงพยาบาลเบิกยาก่อนกลับบ้านไว้และก าหนดให้ญาติไปซื้อและรับยาเอง
เตรียมล้อเข็น หรือเปลนอนในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยตามความเหมาะสม
แจ้งผู้ป่วยและญาติให้ทราบ พร้อมทั้งแจ้งค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล
สังเกตสีหน้าท่าทีของผู้ป่วยและญาติ ตลอดจนซักถามปัญหาของผู้ป่วย เพื่อวางแผนให้การช่วยเหลือผู้ป่วยตามความเหมาะสม
เก็บอุปกรณ์ ทำความสะอาด เพื่อรอรับผู้ป่วยใหม่ต่อไป
ตรวจสอบแผนการรักษาของแพทย์ เกี่ยวกับการจ าหน่ายผู้ป่วย ซึ่งในแผนการรักษาของแพทย์ต้องมีการเขียนอย่างชัดเจนว่าจำหน่ายผู้ป่วยพร้อมลายเซ็นของแพทย์ จึงจะจำหน่ายผู้ป่วยได้
การจำหน่ายผู้ป่วยเมื่อถึงแก่กรรม
ใส่อวัยวะปลอม (ถ้ามี)
ผูกบัตรแข็งประจำตัวของโรงพยาบาลไว้ที่ข้อมือข้างหนึ่ง ส่วนอีกข้างหนึ่ง
ผูกบัตรติดข้อมือศพที่เขียนไว้เรียบร้อย ห่มผ้าคลุมหน้าอกเหมือนคนมีชีวิต และเก็บเครื่องใช้ให้เรียบร้อย
จัดท่าให้เร็วที่สุด โดยให้นอนหงาย จัดแขน ขาให้ตรงอยู่ในท่าที่สบาย
คล้ายผู้ป่วยนอนหลับ หนุนศีรษะเพียงเล็กน้อย
ภายหลังศพอยู่ในหอผู้ป่วยอย่างน้อย 2 ชั่วโมงตามเจ้าหน้าที่มารับศพ
ตรวจความเรียบร้อย และเคลื่อนย้ายโดยปฏิบัติเช่นเดียวกับผู้ป่วยทั่วไป
ใช้มือลูบหนังตาผู้ป่วยให้ปิดลงเมื่อแพทย์ลงความเห็นว่าเสียชีวิตแล้ว
ถอดอุปกรณ์ทุกชนิดในการรักษาออก อาบน้ำ ใส่เสื้อผ้าให้ ถ้ามีแผลเปลี่ยนผ้าปิดแผลให้ใหม่ถ้ามีของเหลวจากจมูก หู ใช้ส าลีอุดไว้ ถ้าออกจากช่องคลอดหรือทวารหนักให้ใช้ผ้าอนามัยหรือผ้าอ้อม
ส าเร็จรูปห่อไว้เหมือนกับผู้ป่วยยังมีชีวิตอยู่
รวบรวมรายงานลงสมุดจำหน่าย
บทบาทพยาบาลในการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยตามรูปแบบ D-M-E-T-H-O-D
T = Treatment แนะนำผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล ให้เข้าใจเป้าหมายการรักษา แนะนำให้ปฏิบัติกิจกรรมการรักษา
H = Health ให้ความรู้เกี่ยวกับข้อจ ากัดในการท ากิจกรรมให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพกระตุ้นให้ผู้ป่วย/ ญาติ มีส่วนร่วมในการเลือกกิจกรรมที่เหมาะสมกับภาวะสุขภาพ รวมทั้งปรับตัวเพื่อส่งเสริมการฟื้นฟูสภาพ และการป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ
E = Environment & Economic กระตุ้นให้ผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล เห็นความส าคัญของการใช้สถานบริการสุขภาพในชุมชน การจัดการสิ่งแวดล้อม ที่บ้านให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพ
M = Medication ให้ความรู้เกี่ยวกับยาที่ต้องรับประทานอย่างต่อเนื่องที่บ้าน ชื่อยาฤทธิ์ของยา วิธีการใช้ ขนาด จำนวนครั้ง ระยะเวลาที่ใช้ ข้อควรระวังในการใช้ยา ผลข้างเคียงข้อห้ามส าหรับการใช้ยา และการเก็บรักษายา
O = Outpatient referral ชี้แจงให้ผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล ตระหนักและเข้าใจถึงความสำคัญของการมาตรวจตามนัดและอาการผิดปกติที่ต้องมาก่อนนัด การติดต่อขอความช่วยเหลือจากสถานบริการใกล้บ้านประสานงานกับศูนย์ Home health care (HHC) เพื่อติดตามการดูแลต่อเนื่องบันทึกข้อมูลลงแบบบันทึกการจ าหน่ายและการส่งต่อ ให้กับศูนย์ HHC เพื่อการวางแผนการเยี่ยมบ้านเมื่อมีปัญหาให้ติดต่อสถานบริการใกล้บ้าน
D = Diagnosis ให้ความรู้เรื่องโรคที่เป็นอยู่ เกี่ยวกับสาเหตุ อาการ การปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง
D = Diet ให้ความรู้เรื่องอาหารเฉพาะโรค หลีกเลี่ยงหรืองดอาหารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ แนะนำแหล่งประโยชน์หรือสถานที่ให้คำปรึกษาเมื่อมีปัญหาเรื่องอาหาร
ข้อบ่งชี้และการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรม
Livor mortis เมื่อการไหลเวียนเลือดหยุด ผิวหนังจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงคล้ายๆ (Bluish purple) ตามบริเวณส่วนล่างของร่างกาย ซึ่งเป็นผลจากเม็ดเลือดแดงถูกทำลาย และตกตะกอนตามแรงดึงดูดของโลก
Rigor mortis คือ การแข็งทื่อของร่างกายหลังเสียชีวิต ประมาณ 2-4 ชั่วโมง เกิดจากการหดเกร็งของกล้ามเนื้อโครงกระดูก และกล้ามเนื้อเรียบ เพื่อป้องกันศพผิดรูปร่าง หลังจากผู้ป่วยเสียชีวิต พยาบาลจะต้องปิดเปลือกตา ปิดปาก และจัดให้ศพอยู่ในท่าที่เป็นธรรมชาติทันทีเท่าที่จะทำได้
Algor mortis อุณหภูมิของร่างกายลดลง 1◦C (1.8◦F) ต่อชั่วโมงจนเท่าอุณหภูมิห้องเนื่องจากการไหลเวียนเลือดหยุด และ Hypothalamus หยุดทำงาน
การพยาบาลภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรม ตามประเพณี และศาสนาของผู้ป่วย
การพยาบาลภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรมตามประเพณี และศาสนาของผู้ป่วย
ส าหรับศาสนาอิสลาม ใช้น้ำผสมการบูรหรือใบพุทราอาบน้ำให้ศพ และใช้ผ้ากะพัน(ผ้าห่อศพ) แทนการสวมเสื้อผ้า ให้ปฏิบัติต่อศพอย่างนุ่มนวลเปรียบเสมือนยังมีชีวิต อนุญาตให้น าศพออกจากโรงพยาบาลได้อย่างเร็วที่สุดเพื่อไปประกอบพิธีทางศาสนา ไม่อนุญาตให้ผ่าศพหรือกระท าการ
ใดๆ อันเกิดความเสียหายต่อศพ
ในส่วนของคนจีนใช้น้ำผสมธูป ยอดทับทิมและใบเซียงเช่า เช็ดตัวศพเพื่อให้วิญญาณขึ้นสู่สวรรค์ และสวมเสื้อผ้าสวยงามพร้อมทั้งหมวกและรองเท้าให้กับผู้ตาย
การปฏิบัติตามหลักศาสนาและประเพณีภายหลังถึงแก่กรรม คือ การอาบน้ำแต่งตัวศพหลังจากตายแล้ว ซึ่งพิธีอาบน้ำศพเป็นการทำให้ร่างกายสะอาดและแต่งตัวให้สมฐานะของผู้ตายซึ่งประเพณีไทยใช้วิธีการรดน้ำศพเป็นการขอขมา
หลักปฏิบัติทางกฎหมายและระเบียบของโรงพยาบาล ในการติดต่อรับศพ ญาติจะต้องดำเนินการ
นำใบมรณะบัตรไปแจ้งที่วัดเพื่อเผาศพ
ในกรณีขอเคลื่อนย้ายศพออกจากเขตหรือข้ามจังหวัด ให้นำใบมรณะบัตรไปแจ้งเทศบาลหรือที่ว่าการเขต
นำใบรายงานของแพทย์ไปแจ้งเทศบาลหรือที่ว่าการเขตท้องถิ่นที่ที่บ้านตั้งอยู่เพื่อแก้ไขทะเบียนบ้านภายใน 24 ชั่วโมง และขอใบมรณะบัตร
ผู้ตายไม่สามารถทำนิติกรรมใด ๆ ได้อีกต่อไป
นำหลักฐานต่างๆ มายื่นให้กับเจ้าหน้าที่ในหอผู้ป่วย
การพยาบาลภายหลังถึงแก่กรรม
วัตถุประสงค์ของการแต่งศพ
ดูแลจัดเก็บของใช้ ของต้องทิ้งหรือทำลายได้ถูกต้อง
ประสานงานหน่วยงานหรือบุคลากรที่เกี่ยวข้องได้ถูกต้อง
ดูแลจัดกา รตามข้อกฎหมาย กฎระเบียบของโ รงพยาบาลและ
ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมเชื้อชาติ ศาสนาของผู้ตาย
เขียนบันทึกรายงานที่เกี่ยวข้องได้ถูกต้อง
เตรียมศพให้สะอาด เรียบร้อยพร้อมย้ายไปยังห้องศพ
ขั้นตอนการแต่งศพ
จัดศพให้นอนหงายดูคล้ายคนนอนหลับ และควรจัดแขนขาให้เหยียดตรง
โดยเร็วหากจัดแขนขานานกว่า 2 ชั่วโมง กล้ามเนื้อบางส่วนจะเริ่มแข็ง
ปิดปากและตาทั้ง 2 ข้างให้สนิท
ใช้สำลีหรือก๊อซอุดอวัยวะต่าง ๆ ที่มีน้ำคัดหลั่งหรือเลือดไหลออกมา
ถ้ามีแผลต้องตกแต่งแผลให้เรียบร้อย
ถ้ามีฟันปลอม ตาปลอมต้องรีบใส่ เพราะหากใส่ช้านานเกินกว่า 2 ชั่วโมง
ขากรรไกร คอคางจะแข็งจะใส่ฟันปลอมยาก การฟันปลอมให้โดยเร็ว ช่วยให้ส่วนคางคงรูปเหมือนเดิม
เช็ดตัวให้สะอาด ใส่เสื้อผ้าชุดใหม่
สวมถุงมือ
ผูกป้ายชื่อที่ข้อมือ
เก็บอุปกรณ์การรักษาพยาบาลทุกชนิดออกจากศพ ของบางอย่างที่ไม่ใช้
นำออกไปแช่น้ำยา เตรียมล้างท าความสะอาด หรือส่งซักให้ถูกต้อง
คลุมผ้าจากปลายเท้าถึงระดับไหล่ เก็บของใช้ต่างๆ ของผู้ป่วยส่งคืน
ให้แก่ญาติ
จัดสถานที่และสิ่งแวดล้อม กั้นม่าน/ ฉากให้เรียบร้อย ไขเตียงราบเอา
ของใช้ต่างๆ บนเตียงเก็บให้เรียบร้อย
ถอดถุงมือ ล้างมือให้สะอาด เช็ดให้แห้ง
เตรียมอุปกรณ์
ให้ศพอยู่ในหอผู้ป่วยประมาณ 2 ชั่วโมง จึงเคลื่อนย้ายศพไปห้องเก็บศพ
พร้อมใบส่งศพ
ล้างมือก่อนจัดเตรียมของใช้
ข้อคว รคำนึงในก ารแต่งศพ ควรพิจ ารณา ร่วมกับญ าติผู้ป่ วย
เช็ดร่างกายให้สะอาด เปลี่ยนผ้าใหม่ตามประเพณีของญาติ หากต้องการแต่งหน้า อย่าแต่งหน้า ให้เข้มเกินไป และปัจจุบันไม่ต้อง Pack สำลีในอวัยวะต่างๆ เป็นการปฏิบัติคล้ายดูแลให้นอนหลับสบาย
อธิบายให้ญาติผู้ป่วยเข้าใจ เมื่อผู้ป่วยเสียชีวิต พยาบาลมีหน้าที่ดูแลทำ
ความสะอาดร่างกาย และเปลี่ยนเสื้อผ้าให้แก่ศพ หากญาติมีความประสงค์จะให้ศพแต่งกายหรือประดับตกแต่งศพอย่างไรสามารถแจ้งให้กับเจ้าหน้าที่พยาบาลได้
การแต่งศพ หมายถึง การดูแลศพให้เรียบร้อยพร้อมเคลื่อนย้ายไปยังห้องศพการแต่งศพจะต้องค านึงถึงขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของผู้ตาย โดยต้องศึกษาข้อมูลของผู้ตายข้อปฏิบัติจากญาติและให้ญาติได้มีส่วนร่วมด้วย