Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรับผู้ป่วยใหม่และการจำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล - Coggle Diagram
การรับผู้ป่วยใหม่และการจำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล
ชนิดของการรับผู้ป่วยใหม่และ
หลักการส่งเสริมการปรับตัว
ชนิดของการรับผู้ป่วยใหม่
ผู้ป่วยใน
ระยะเวลาในการพักรักษาในโรงพยาบาลนานกว่า 24 ชั่วโมง
วางแผนเป็นผู้ป่วยในหรือกรณีไม่เร่งด่วน
การรับแบบที่มีการจัดตารางนอนผู้ป่วยไว้ล่วงหน้า
การรับแบบฉุกเฉิน
การนอนพักรักษาแบบไม่ได้วางแผนไว้
รักษาที่แผนกฉุกเฉินก่อนจนอาการคงที่
การรับโดยตรง
การนอนพักรักษาในโรงพยาบาลแบบไม่ได้วางแผนไว้
อาจตรวจที่แผนกตรวจผู้ป่วยนอก
ผู้ป่วยนอก
ระยะเวลาของการอยู่ในโรงพยาบาลน้อยกว่า 24 ชั่วโมง
ระยะเวลาของการอยู่ในโรงพยาบาลน้อยกว่า 24 ชั่วโมง
ความแปลกใหม่ต่อสถานที่ สิ่งแวดล้อม บุคลากรทางการแพทย์ และเจ้าหน้าที่ต่างๆ
ความกังวลต่อความเจ็บป่วย
ประสบการณ์ในอดีตมีความสำคัญต่อการแสดงออกของผู้ป่วย
การคำนึงถึงความเป็นบุคคลของผู้ป่วย
ความเชื่อและพฤติกรรมต่างๆ เป็นของผู้ป่วย
การวางแผนให้การพยาบาล
วัตถุประสงค์และขั้นตอนการรับผู้ป่วยใหม่
ขั้นตอนการรับผู้ป่วยใหม่
เตรียมสิ่งแวดล้อมเพื่อรับผู้ป่วยใหม่
สร้างสัมพันธภาพ
ตรวจสอบชื่อ นามสกุลของผู้ป่วย
ชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูง
นำผู้ป่วยไปที่เตียง วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ
อธิบายกิจกรรมการรักษาพยาบาลที่จะให้ผู้ป่วย
ชี้แจงนโยบายของโรงพยาบาลและกฎระเบียบ
แนะนำสถานที่และสิ่งแวดล้อมภายในหอผู้ป่วย
สาธิตวิธีการใช้สิ่งต่างๆ
หน้าที่และความรับผิดชอบโดยคร่าวๆ ของเจ้าหน้าที่ในหอผู้ป่วย
แจ้งให้ผู้ป่วยเกี่ยวกับของมีค่าให้ญาติเอากลับบ้าน
ผู้ป่วยสามารถเก็บของส่วนตัวที่ไม่ใช่ของมีค่าไว้ที่โต๊ะข้างเตียง
แนะนำการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมกับโรค
ให้ผู้ป่วยหรือญาติที่มีสิทธิตามกฎหมายเซ็นอนุญาตหรือยินยอม
เก็บรวบรวมข้อมูลผู้ป่วย
การสัมภาษณ์ผู้ป่วยและญาติ
การตรวจร่างกาย
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ให้ความช่วยเหลือหรือให้คำแนะนำในการอาบน้ำแรกรับ
เบิกอาหารให้ผู้ป่วยที่เหมาะสมกับโรค
นำป้ายข้อมือติดที่ข้อมือผู้ป่วย ติดป้ายหน้าเตียง
แจ้งแพทย์เจ้าของผู้ป่วยหรือแพทย์ประจำหอผู้ป่วยรับทราบ
ลงทะเบียนรับผู้ป่วยใหม่ จัดทำแฟ้มประวัติ
การเตรียมอุปกรณ์
เตรียมเตียงหรือห้องพักผู้ป่วยให้พร้อม
เอกสารรายงานการรับผู้ป่วยใหม่
แบบตรวจสอบการเข้าพักรักษาในโรงพยาบาล
แบบบันทึกต่าง ๆ
แบบบันทึกคาร์เดกซ์
อุปกรณ์ที่จำเป็น
ชุดโรงพยาบาล
ผ้าเช็ดตัว
ผ้าเช็ดหน้า
เครื่องมือตรวจสัญญาณชีพ
สมุดบันทึกการรับใหม่
เครื่องใช้ส่วนตัว
วิธีการรับแผนการรักษา
วัตถุประสงค์
เพื่อถ่ายทอดแผนการรักษา
อุปกรณ์
แผนคำสั่งรักษา
ใบรับคำสั่งแผนการรักษา
ใบบันทึกการให้ยา
ป้ายสำหรับติดขวดสารละลาย
ปากกา
อ่านแผนการรักษาทั้งเฉพาะวันและ
ตลอดไปให้เข้าใจโดยตลอด
กรอกรายละเอียดแผนการรักษา
เขียนป้ายติดขวดสารละลายตามจำนวนที่แพทย์กำหนด
ปฏิบัติตามแผนการรักษา
สาเหตุและอุปกรณ์การจำหน่ายผู้ป่วย
ประเภทการจำหน่ายผู้ป่วย
การจำหน่ายผู้ป่วยเมื่อมีอาการทุเลาลงจากภาวะที่อันตราย
การจำหน่ายโดยไม่สมัครอยู่พยาบาล
การจำหน่ายเนื่องจากผู้ป่วยหนีกลับ
การจำหน่ายเนื่องจากผู้ป่วยถึงแก่กรรม
การจำหน่ายผู้ป่วยมีการส่งต่อให้ไปรับการรักษาสถานบริการสุขภาพอื่น
อุปกรณ์ในการจำหน่ายผู้ป่วย
รายงานผู้ป่วยทั้งหมด
สมุดจำหน่ายผู้ป่วย
เสื้อผ้าผู้ป่วย
บัตรประจำตัวของโรงพยาบาล
ใบนัด ใบสั่งยา
เครื่องใช้ในการอาบน้ำ สำลี ก๊อซ
ขั้นตอนจำหน่ายผู้ป่วย
กรณีแพทย์อนุญาตให้กลับบ้าน
ตรวจสอบแผนการรักษาของแพทย์
แจ้งผู้ป่วยและญาติให้ทราบ
ให้ญาติผู้ป่วยไปซื้อยาตามใบสั่งยา
แนะนำผู้ป่วยให้สอดคล้องกับสภาพความเจ็บป่วย
ให้ใบนัด พร้อมบัตรประจำตัวของผู้ป่วย
นำเสื้อผ้าและของมีค่าคืนให้ผู้ป่วย
เตรียมล้อเข็น หรือเปลนอน
ลงสมุดจำหน่ายผู้ป่วย
เก็บอุปกรณ์ทำความสะอาด
ผู้ป่วยเมื่อถึงแก่กรรม
ใช้มือลูบหนังตาผู้ป่วยให้ปิดลง
จัดท่าให้เร็วที่สุด โดยให้นอนหงาย จัดแขน ขาให้ตรง
ใส่อวัยวะปลอม (ถ้ามี)
ผูกบัตรแข็งประจำตัวของโรงพยาบาลไว้ที่ข้อมือข้างหนึ่ง
ภายหลังศพอยู่ในหอผู้ป่วยอย่างน้อย 2 ชั่วโมง
รวบรวมรายงานลงสมุดจำหน่าย
บทบาทพยาบาลและข้อบ่งชี้
บทบาทพยาบาลในการวางแผนจำหน่าย
ผู้ป่วยตามรูปแบบ D-M-E-T-H-O-D
D = Diagnosis
ให้ความรู้เรื่องโรคที่เป็นอยู่
M = Medication
ให้ความรู้เกี่ยวกับยาที่ต้องรับประทาน
E = Environment & Economic
กระตุ้นให้ผู้ป่วยเห็นความสำคัญ
ของการใช้สถานบริการสุขภาพในชุมชน
T = Treatment
แนะนำผู้ป่วย ครอบครัว ผู้ดูแลให้เข้าใจเป้าหมายการรักษา
H = Health
ให้ความรู้เกี่ยวกับข้อจำกัดในการทำกิจกรรม
O = Outpatient referral
ชี้แจงให้ผู้ป่วย ผู้ดูแล เข้าใจความสำคัญการมา
ตามนัดและอาการผิดปกติที่ต้องมาก่อนนัด
D = Diet
ให้ความรู้เรื่องอาหารเฉพาะโรค
ข้อบ่งชี้และการเปลี่ยนแปลงทาง
สรีรวิทยาภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรม
Algor mortis
อุณหภูมิของร่างกายลดลง 1◦C (1.8◦F) ต่อชั่วโมงจนเท่าอุณหภูมิห้อง
Livor mortis
การไหลเวียนเลือดหยุด ผิวหนังจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงคล้ำๆ
Rigor mortis
การแข็งทื่อของร่างกายหลังเสียชีวิต
การพยาบาลภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรม
ตามประเพณี และศาสนาของผู้ป่วย
การพยาบาลภายหลังถึงแก่กรรม
การแต่งศพ
ถ้ามีแผลต้องตกแต่งแผลให้เรียบร้อย
ถ้ามีฟันปลอม ตาปลอมต้องรีบใส่
จัดศพให้นอนหงายดูคล้ายคนนอนหลับ
ใช้สำลีหรือก๊อซอุดอวัยวะต่าง ๆ ที่มีน้ำคัดหลั่ง
ผูกป้ายชื่อที่ข้อมือ
เช็ดตัวให้สะอาด ใส่เสื้อผ้าชุดใหม่
หลักปฏิบัติทางกฎหมายและระเบียบของโรงพยาบาล
นำหลักฐานต่างๆยื่นให้กับเจ้าหน้าที่ในหอผู้ป่วย
นำใบรายงานของแพทย์ไปแจ้งเทศบาลหรือที่ว่าเขตท้องถิ่น
นำใบบมรณะบัตรไปแจ้งที่วัดเพื่อเผาศพ