Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรับผู้ป่วยใหมและการจำหน่ายผู้ป่วย ออกจากโรงพยาบาล - Coggle Diagram
การรับผู้ป่วยใหมและการจำหน่ายผู้ป่วย
ออกจากโรงพยาบาล
ชนิดของการรับผู้ป่วยใหม่
ผู้ป่วยใน (Inpatient)
ระยะเวลาของการนอนพักรักษาในโรงพยาบาลมากกว่า 24 ชั่วโมง
ประเภทของผู้ป่วยในประกอบด้วย
วางแผนเป็นผู้ป่วยในหรือกรณีไม่เร่งด่วน (Planned or Non-urgent)
การรับแบบฉุกเฉิน (Emergency admission)
การรับโดยตรง (Direct admission)
ผู้ป่วยนอก (Outpatient)
ระยะเวลาของการอยู่ในโรงพยาบาลน้อยกว่า 24 ชั่วโมง
วัตถุประสงค์และขั้นตอนการรับผู้ป่วยใหม่
การเตรียมอุปกรณ์
เอกสารรายงานการรับผู้ป่วยใหม่หรือแบบบันทึกต่างๆ
อุปกรณ์ที่จำเป็นตามความเหมาะสมสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย
เตรียมเตียงหรือห้องพักผู้ป่วยให้พร้อมเพื่อต้อนรับการพักรักษาตัวของผู้ป่วยการที่เตรียมเตียง
เครื่องมือตรวจสัญญาณชีพ น้ำหนักและส่วนสูง
สมุดบันทึกการรับใหม่
เครื่องใช้ส่วนตัว บางโรงพยาบาลอาจมีเตรียมไว้ให้สาหรับผู้ป่วย
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยได้รับการประเมินปัญหาและความต้องการทางร่างกาย
และจิตสังคมได้ถูกต้อง
ป่วยและญาติคลายความวิตกกังวล เต็มใจและให้ความร่วมมือใน
การรักษาพยาบาล
ผู้ป่วยมีเครื่องใช้ที่จาเป็นในการรักษาพยาบาล เหมาะสม ครบถ้วน
มีความปลอดภัยและสุขสบายเพิ่มขึ้น
ผู้ป่วยและญาติมีความรู้และปฏิบัติตามกฎระเบียบและกิจวัตรของโรงพยาบาล ได้อย่างถูกต้อง
ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง เหมาะสมกับสภาพความเจ็บป่วย
การรับแผนการรักษา
พยาบาลเป็นผู้รับผิดชอบ ในการรับแผนการรักษา ประสานงาน
และติดตามการปฏิบัติให้เป็นไปตามแผนการรักษาอย่างครบถ้วน
เป็นกระบวนการถ่ายทอดแผนการรักษา
จากแผ่นคำสั่งการรักษาไปสู่การปฏิบัติ
การพยาบาลภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรม ตามประเพณี
และศาสนาของผู้ป่วย
การพยาบาลภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรมตามประเพณี
และศาสนาของผู้ป่วย
หลักปฏิบัติทางกฎหมายและระเบียบของโรงพยาบาล
นำใบมรณะบัตรไปแจ้งที่วัดเพื่อเผาศพ
ในกรณีขอเคลื่อนย้ายศพออกจากเขตหรือข้ามจังหวัด
ให้นำใบมรณะบัตรไป แจ้งเทศบาลหรือที่ว่าการเขต
นำใบรายงานของแพทย์ไปแจ้งเทศบาลหรือที่ว่าการเขตท้องถิ่นที่ที่
บ้านตั้งอยู่ เพื่อแก้ไขทะเบียนบ้านภายใน 24 ชั่วโมง และขอใบมรณะบัตร
ผู้ตายไม่สามารถทำนิติกรรมใด ๆ ได้อีกต่อไป
นำหลักฐานต่างๆ เช่น บัตรประชาชน บัตรข้าราชการ
สำเนาทะเบียนบ้านของ ผู้ตาย เป็นต้น มายื่นให้กับเจ้าหน้าที่ในหอผู้ป่วย
การพยาบาลภายหลังถึงแก่กรรม
วัตถุประสงค์ของการแต่งศพ
ประสานงานหน่วยงานหรือบุคลากรที่เกี่ยวข้องได้ถูกต้อง
เขียนบันทึกรายงานที่เกี่ยวข้องได้ถูกต้อง
ดูแลจัดการตามข้อกฎหมาย กฎระเบียบของโรงพยาบาลและ
ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมเชื้อชาติ ศาสนาของผู้ตาย
ดูแลจัดเก็บของใช้ ของต้องทิ้งหรือทำลายได้ถูกต้อง
เตรียมศพให้สะอาด เรียบร้อยพร้อมย้ายไปยังห้องศพ
การแต่งศพ
การดูแลศพให้เรียบร้อยพร้อมเคลื่อนย้ายไปยังห้องศพ การแต่งศพจะต้องคำนึงถึงขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของผู้ตาย
บทบาทพยาบาลในการวางแผน
จำหน่ายผู้ป่วยตามรูปแบบ D-M-E-T-H-O-D
การวางแผนการจำหน่ายผู้ป่วยแบ่งเป็นการวางแผน
การจำหน่ายผู้ป่วยตามกระบวนการ พยาบาล
และวางแผนการจาหน่ายแบบ D-METHOD
E = Environment & Economic กระตุ้นให้ผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล
เห็นความสำคัญ ของการใช้สถานบริการสุขภาพในชุมชน
การจัดการสิ่งแวดล้อม ที่บ้านให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพ
T = Treatment แนะนาผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล
ให้เข้าใจเป้าหมายการรักษา แนะนำ ให้ปฏิบัติกิจกรรมการรักษา
M = Medication ให้ความรู้เกี่ยวกับยาที่ต้องรับประทานอย่างต่อเนื่อง
H = Health ให้ความรู้เกี่ยวกับข้อจำกัดในการทำกิจกรรม
ให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพ กระตุ้นให้ผู้ป่วย/ ญาติ
มีส่วนร่วมในการเลือกกิจกรรมที่เหมาะสมกับภาวะสุขภาพ
D = Diagnosis ให้ความรู้เรื่องโรคที่เป็นอยู่เกี่ยวกับสาเหตุ
อาการ การปฏิบัติตัว ที่ถูกต้อง
O = Outpatient referral ชี้แจงให้ผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล ตระหนักและเข้าใจถึง ความสาคัญของการมาตรวจตามนัด
และอาการผิดปกติที่ต้องมาก่อนนัด
D = Diet ให้ความรู้เรื่องอาหารเฉพาะโรค หลีกเลี่ยงหรืองดอาหารที่เป็นอันตราย ต่อสุขภาพ แนะนำแหล่งประโยชน์
หรือสถานที่ให้คำปรึกษาเมื่อมีปัญหาเรื่องอาหาร
หลักการส่งเสริมการปรับตัวของผู้ป่วยที่อยู่ในโรงพยาบาล
ประสบการณ์ในอดีตมีความสาคัญต่อการแสดงออกของผู้ป่วย พยาบาลควรจะพูดคุย กับผู้ป่วยโดยการซักถามถึง
ประสบการณ์ในอดีต
การคำนึงถึงความเป็นบุคคลของผู้ป่วย พยาบาลจะต้อง
ให้เกียรติผู้ป่วยตามความเหมาะสม
ความกังวลต่อความเจ็บป่วย พยาบาลช่วยลดความวิตกกังวลของ
ผู้ป่วยได้โดยบอกให้ ผู้ป่วยทราบถึงโรคที่ผู้ป่วยเป็นอยู่
การพยากรณ์โรค และการรักษา
ความเชื่อและพฤติกรรมต่างๆ เป็นของผู้ป่วย พยาบาลควรยอมรับไม่แสดงความดูถูก หรือหัวเราะเยาะ ควรให้ความเคารพ
ในสิทธิส่วนบุคคลของผู้ป่วย
ความแปลกใหม่ต่อสถานที่ สิ่งแวดล้อม บุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ต่างๆ ของโรงพยาบาล และการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน
การวางแผนให้การพยาบาลโดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากการสังเกต
และการซักถามต่างๆ
สาเหตุและอุปกรณ์การจำหน่ายผู้ป่วย
การจำหน่ายผู้ป่วย มีวัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ถึงแก่กรรมได้รับการปฏิบัติอย่างถูกต้องตามขนบธรรมเนียม
และความเชื่อทางศาสนา
เพื่อให้ผู้ถึงแก่กรรมมีร่างกายสะอาด อยู่ในสภาพที่ดีที่สุด
อยู่ในสิ่งแวดล้อม ที่สงบเรียบร้อย
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง
เพื่อได้รับการปฏิบัติที่ถูกต้องตามขั้นตอนของกฎหมาย
เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้องเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
อุปกรณในการจำหน่ายผู้ป่วย ประกอบด้วย
บัตรประจำตัวของโรงพยาบาล
ใบนัด
เสื้อผ้าผู้ป่วย
ใบสั่งยา
สมุดจำหน่ายผู้ป่วย
กรณีถึงแก่กรรมให้เตรียมเครื่องใช้ในการอาบน้ำ
สำลี ก๊อซ บัตรติดข้อมือศพด้วย
รายงานผู้ป่วยทั้งหมด
ประเภทการจำหน่ายผู้ป่วย
การจำหน่ายเนื่องจากผู้ป่วยหนีกลับ
การจำหน่าย
การจำหน่ายผู้ป่วยเนื่องจากมีการส่งต่อ
ให้ไปรับการดูแลรักษายังสถานบริการสุขภาพอื่นๆ
การจำหน่ายผู้ป่วยเมื่อมีอาการทุเลาลงจากภาวะที่อันตราย
การจำหน่ายโดย ไม่สมัครอยู่พยาบาลจะต้องอธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบว่า ถ้ามีอะไรเกิดขึ้นกับผู้ป่วย แพทย์จะไม่รับผิดชอบใดๆ ทั้งสิ้น
ขั้นตอนจำหน่ายผู้ป่วย
การจำหน่ายผู้ป่วยกรณีแพทย์อนุญาตให้กลับบ้าน
การจำหน่ายผู้ป่วยกรณีแพทย์อนุญาตให้กลับบ้าน
ข้อบ่งชี้และการเปลี่ยนแปลงทาง
สรีรวิทยาภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรม
Livor mortis เมื่อการไหลเวียนเลือดหยุด ผิวหนังจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงคล้าๆ (Bluishpurple) ตามบริเวณส่วนล่างของร่างกาย
Rigor mortis คือ การแข็งทื่อของร่างกายหลังเสียชีวิต
ประมาณ 2-4 ชั่วโมง เกิด จากการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ
โครงกระดูก และกล้ามเนื้อเรียบ
Algor mortis อุณหภูมิของร่างกายลดลง 1◦C (1.8◦F) ต่อชั่วโมงจนเท่าอุณหภูมิห้องเนื่องจากการไหลเวียนเลือดหยุด
และ Hypothalamus หยุดทางาน