Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เปรียบเทียบทฤษฎีกับกรณีศึกษา - Coggle Diagram
เปรียบเทียบทฤษฎีกับกรณีศึกษา
มารดา
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก (uterine Contraction)
ระยะ latent
I 4’-5’ D 25-45” severity +
ระยะ Active ตอนต้น
I 4’ D 45” severity ++
ระยะ Active ตอนปลาย
I 3’ D 50” severity++
กลไกการลอกตัวของรก
Schultze’s method
ผู้คลอดรายนี้พบว่าการลอกตัวของรกเป็นแบบ Schultze’s method
Duncan’s method
กลไกการคลอด
Internal rotation
ทารกท่า OA PV พบ sagittal suture ในแนว A-P diameter
Extension
ขณะคลอดศีรษะทารกจะเงยขึ้นโดย ส่วนท้ายทอยจะยันอยู่ไต้ขอบล่างของรอยต่อกระดูกหัวเหน่าตามกลไกการคลอด
Flexion
ทารกมีการก้มศีรษะตามกลไกการคลอด ตรวจ PV พบ posterior fontanelle
Restitution
การหมุนกลับของทารก จะหมุนตามเข็มนาฬิกา
Descent
มีการเคลื่อนต่ำของศีรษะ เวลา 12.45 น. Station +1
External rotation
ช่วยหมุนศีรษะทารกกลับโดยหมุนทวนเข็มนาฬิกาต่อจากการหมุนกลับของศีรษะทารกภายนอกช่องคลอด
Engagement
PV พบ station -2 เวลา 12.00 น. และ PV พบ station +1 เวลา 12.45 น.
Expulsion
ทำการคลอดไหลหน้าและไหล่หลัง จน
คลอดทารกออกมาทั้งตัว ในเวลา 13.00 น.
อาการและอาการแสดงของรกลอกตัว
Uterine Sign
ตรวจพบมดลูกเอียงมาทางด้านขวามองเห็นหน้าท้องแบ่งเป็นสองลอน ลักษณะกลมแข็ง
vulva sign
ไม่มีเลือดสดออกจากช่องคลอด
Cord Sign
คลายเกลียวเหี่ยวลงคลำชีพจรไม่ได้ ไม่เลื่อนขึ้นตามมือที่โกยมดลูกขึ้น
ระยะของการคลอด (Stage of labor)
First Stage of labor
-PV เวลา 09.00 น. CX dilate 2 cm. Eff. Soft station -2 MI ทารกท่า LOA
Second Stage of labor
PV เวลา 12.45 น. Cervix Dilate 10 cms. Effacement 100% Mambranes Ruptures Station +1 Interval 3’, Duration 50” , Severity ++ คลอดทารก 13.00 น.
Third Stage of labor
รกคลอดเวลา 13.14 น. รวมเวลา14นาที
Fourth Stage of labor
ผู้คลอดรู้สึกตัวดี Totaj blood loss ขณะคลอด 200 ml V/S Stable ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด
วิธีการทำคลอดรก
Brant-Andrews Maneuver
Cord traction
Modified Crede’ Maneuver
กรณีศึกษามีการช่วยคลอดรกแบบ Modified Crede’Maneuver
องค์ประกอบของการคลอด (6P)
Passenger
ทารกมีส่วนนำเป็น vertex presentation
Estimated size of baby ประมาณ 3,487 กรัม
ทารกอยู่ในท่า Occiput Anterior
Psychological
ไม่พบความเสี่ยงด้านจิตใจของผู้คลอด มีสามีคอยดูแล
Passage
Bony Passage
เคยคลอดบุตรทางช่องคลอดมาแล้ว 1
Soft Passage
ตรวจครรภ์ HE PV พบ station +1 examination ไม่พบ ischial spine ช่องคลอดและปากมดลูกบาง Effacement 100%
Physical condition
ไม่มีปัญหาหรือภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ ปฏิเสธ
โรคประจำตัว มีสีหน้าเหนื่อยอ่อนเพลีย ริมฝีปากแห้ง
Power
Secondary Power
ผู้คลอด เบ่งคลอดได้ถูกวิธี
Primary Power
ระยะ Active phase ตอนต้น I =4' D= 45"
ระยะ Active phase ตอนปลาย I =3' D= 50"
ระยะ Latent phase : I =4'-5' D= 25"-45"
Position of Labor
ขณะคลอดผู้คลอดอยู่ในท่าDorsal recumbent
Position
การตรวจรก
รกคลอด complete Cord ยาวประมาณ 50 ซม.
มีเส้นเลือดครบ 3 เส้น Vein 1 เส้น artery 2 เส้น
ไม่มีลักษณะของปม
สายสะดือมีการเกาะแบบค่อนไปทางด้านข้างของ
แผ่นรก (Lateral insertion)
รกมีลักษณะกลมแบน
กว้างประมาณ 20 เซนติเมตร
หนา 3 เซนติเมตร
น้ำหนักทารกแรกเกิด 2,890 กรัม ตามทฤษฎีรกจะหนักประมาณ 482 - 578 กรัม รกจากรณีศึกษามีน้ำหนัก 700 กรัม
รกด้านทารก มีสายสะดือเกาะอยู่ มีสีเทาอ่อนเป็นมันมีเส้นเลือดแผ่ออกจากบริเวณที่เกาะของสายสะดือ ไปถึงขอบรกห่างจากขอบรกประมาณ 1-2 ซม.
รกด้านแม่ ลักษณะสีแดงเข้มคล้ายลิ้นจี่ มี Cotyledons อยู่ 16
Cotyledons เรียงชิดติดกันดี ไม่มีรอยฉีกขาด
ทฤษฎีการเริ่มต้นการคลอด
ทฤษฎีความดัน
มีการมดลูกหดรัดตัวและเกิดการคลอด
ทฤษฎีฮอร์โมน cortisol
ทารกในครรภ์เจริญเติบโตเต็มที่ มดลูกหดรัดตัวและเจ็บครรภ์คลอด
ทฤษฎีการยืดขยายของมดลูก
มดลูกมีการยืดขยายถึงจุดสูงสุด uterine contraction ถี่และรุนแรงมากขึ้น
ทฤษฎีอายุของรก
เป็นครรภ์ครบกำหนด การไหลเวียนของเลือดบริเวณรกปกติ
ทฤษฎีการขาดฮอร์โมน Progesterone
เมื่อมีการหดรัดตัวของมดลูก ผู้คลอดบอกว่าปวดท้อง ท้องปั้นถี่ขึ้น
ทฤษฎีการกระตุ้นฮอร์โมน Oxytocin
ผู้คลอด มี Uterine contraction
ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนระหว่าง Estrogen และ progesterone
ผู้คลอด มีอาการเจ็บครรภ์คลอด
ทฤษฎีการกระตุ้นฮอร์โมน Estrogen
มดลูกมีการหดรัดตัว I 5’ D 25” severity +
ทฤษฎีการหลั่งฮอร์โมน Prostaglandin
ผู้คลอด บอกว่าปวดท้อง ท้องปั้นถี่ขึ้นเรื่อยๆ ผู้คลอด บอกว่าอยากเบ่ง
การประเมินการฉีกขาดของฝีเย็บ (tear)
ผู้คลอดมีการฉีกขาดของฝีเย็บระดับที่ 1 Frist degree tear
ทารกคลอดปกติ (Normal labor)
ขบวนการคลอดทั้งหมด
การคลอดปกติ เป็นไปตามธรรมชาติ มีการตัดฝีเย็บเพื่อช่วยคลอด
ระยะเวลาตั้งแต่เริ่มเจ็บครรภ์จริงจนกระทั่งคลอดรวมเวลาไม่เกิน 24 ชั่วโมง
ระยะเวลาตั้งแต่เริ่มเจ็บครรภ์ จากการซัก
ประวัติจนกระทั่งรกคลอด ประมาณ 6 ชั่วโมง
24 นาที
ทารกมียอดศีรษะเป็นส่วนนำ
ทารกมีส่วนนำเป็น vertex presentation อยู่ในท่า LOA
ไม่มีภาวะแทรกซ้อนใดๆ เกิดขึ้นในระยะคลอด
ระหว่างการคลอดไม่มีภาวะแทรกซ้อน
อายุครรภ์ครบกำหนด
ผู้คลอด G2P1A0L1 GA 38+4 wks. LMP วันที่ 15 ธันวาคม 2562
EDC วันที่ 27 สิงหาคม 2563 by U/S
การพยาบาลที่สำคัญในระยะที่4 ของการคลอด
ผู้คลอดหลังคลอดในระยะที่ 2-3 ของการคลอดเสียเลือดประมาณ 200 ml
ได้รับการประเมินสัญญาณชีพทุก 15 นาที ในชั่วโมงแรกหลังคลอดและทุก 30 นาทีในชั่วโมงที่ 2
หลังรกคลอด กล้ามเนื้อมดลูกมีการหดรัดตัวดี เป็น
ก้อนกลมแข็ง
ไม่มีภาวะ Bladder full มดลูกหดรัดตัวดี
แผลฝีเย็บไม่บวมแดง ไม่มี Hematoma
ผู้คลอดพักผ่อนได้ นอนอยู่บนเตียง
การคลอด (labor)
-ผู้คลอด G2P1A0L1 GA 38+4 wks. คลอดโดยวิธีการคลอดปกติ โดยคลอดทางช่องคลอด มีการตัดฝีเย็บ ไม่มีการใช้หัตถการใดๆ ในการช่วยคลอด หลังคลอดไม่มีภาวะแทรกซ้อน เช่น ภาวะตกเลือด มดลูกปลิ้น
ทารก
หู
ใบหูของทารกเป็นรูปทรงดีใบหูพับแล้วสามารถคืนรูปเดิมได้ทันที
ขนอ่อน
ทารกมีขนอ่อนหัวไหล่ และหลังเล็กน้อย
ผิวหนัง
ผิวหนังของทารกผิวหนังบาง สีแดงอมชมพู มองเห็นหลอดเลือด
ไขตามตัว
ทารกมีไขตามตัวเฉพาะที่บริเวณศีรษะ ต้น
ขา ข้อพับ ซอกคอ
หัวนม
มีหัวนมมีรูปร่างกลมเป็นตุ่มขนาด 3-4 cms. ลานนมนูนขึ้น
เล็บมือ เล็บเท้า
ปกติ นิ้วเท้าครบ 10 นิ้ว
เต้านม
ทารกมีเต้านมตูมเต่ง
ทรวงอก
สมมาตร ทารกมีขนาดรอบอกเท่ากับ 29 cms. เล็กกว่าขนาดศีรษะ 1 cms.
ท้อง
ทารกมีท้องใหญ่และยื่น ขนาดเกือบเท่าศีรษะและ
ทรวงอก ลักษณะค่อยข้างกลม
คอ
ปกติ
อวัยวะเพศชาย
มีอวัยวะเพศชาย พบอัณฑะ ถุง
อัณฑะมี่รอยย่นชัดเจน
ใบหน้า
ปกติ
การโต้ตอบทางระบบประสาท
ทารกมี reflex ทุก reflex
ศีรษะ
ปกติ รอบศีรษะ 30 เซนติเมตร
กำลังของกล้ามเนื้อ
ทารกเคลื่อนไหวได้ดี งอแขนขาได้เต็มที่กล้ามเนื้อมีกำลัง