Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Melioidosis, นางสาวศศิธร ยิ้มเเย้ม เลขที่ 72 ห้อง 3B - Coggle Diagram
Melioidosis
ข้อมูลผู้ป่วย
ชายไทย อายุ 48 ปี
CC : มีไข้ ไอ เจ็บคอ หายใจเหนื่อย 3 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 20 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้ ไอ เข้ารับการตรวจที่ทรวงอก สงสัยวัณโรค ผลการตรวจไม่พบว่าเป็นวัณโรค ได้รับยาตามอาการเบื้องต้น
10 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้ เจ็บคอ ไอมากขึ้น
3 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้สูงขึ้น ซึมลง ไม่รู้สึกตัว ญาตินำส่งโรงพยาบาล
-
-
พยาธิสภาพ
กลไกการเกิดโรคเมลิออยโดสิสส่วนใหญ่เกิดจากการที่ร่างกายได้รับเชื้อเข้ามาใหม่
ส่วนน้อยเป็นผลจากการกำเริบของการติดเชื้อที่มีอยู่เดิม
หลังจากมีการติดเชื้อเกิดขึ้นแล้วผู้ป่วยจะเป็นโรคหรือไม่ขึ้นกับระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายและจำนวนเชื้อที่ได้รับเข้าไป
เซลล์เม็ดเลือดขาวชนิด neutrophils จะทำหน้าที่ในการควบคุมเชื้อในระยะแรกเนื่องจากโรคที่เป็นปัจจัยเอื้อต่อการเกิดโรคเมลิออยโดสิสเป็นโรคที่ทำให้หน้าที่ของเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิด neutrophils เสียไป
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Burkholderia pseudomallei (เชื้อเมลิออยด์) ซึ่งเป็นแบคทีเรียชนิดเเกรมลบ พบได้ทั่วไปในดินและน้ำ เเพร่กระจายมากในช่วงหน้าฝน แบคทีเรียชนิดนี้อาจติดต่อสู่มนุษย์โดยตรงผ่านการสัมผัสหรือแพร่ผ่านสัตว์เลี้ยงทีมีเชื้อนี้อยู่ในร่างกายอย่างแมว สุนัข หมู ไก่ วัว ควาย แกะ หรือแพะ โดยเฉพาะการสัมผัสกับเชื้อบริเวณผิวหนังที่มีแผลเปิดนั้นเสี่ยงต่อการได้รับเชื้อสูง
-
ระยะฟักตัวของโรค (incubation period) เฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 9 วัน (1 – 21 วัน) แต่บางครั้งก็อาจนานกว่านี้ได้ ผู้ป่วยสามารถมีอาการของโรคได้หลังจากออกจาก endemic area ไปแล้วนานหลายเดือน หรือหลายปี ซึ่งเท่าที่มีการบันทึกไว้ ระยะฟักตัวที่นานที่สุดคือ 62 ปี
10 วัน หลังจากผู้ป่วยเดินทางกลับบ้านที่ต่างจังหวัดเเละได้สัมผัสไก่ชน เเละเดินย่ำโคลนเพื่อดำนา มีอาการเป็นไข้ ไอ เจ็บคอ
การวินิจฉัยโรค
-
-
การตรวจร่างกาย
-
-
ฝี (abscess) ซึ่งพบได้บ่อยในตับ ม้าม ต่อมน้้ำเหลือง ตามผิวหนัง และอาจพบได้ในทุก
อวัยวะในร่างกายเช่น ฝีในสมอง ฝีในตา ฝีในช่องคอชั้นลึก ฝีในปอด
-
-
การรักษา
การรักษาการรักษาโรคเมลิออยโดสิสแบ่งออกเป็นการรักษาแบบประคับ ประครองตามอาการและภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นและการให้ยาปฏิชีวนะที่เหมาะสมรวมถึงการเจาะดูดหรือผ่าตัดเพื่อระบายฝีหนองหรือตัดเนื้อเยื่อที่ติดเชื้อและเกิดการตายของเนื้อเยื่อออกไปในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงมีภาวะ sepsisควรเริ่มให้การรักษาด้วยยาปฏิชีวนะแบบฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำก่อนเสมอโดยทั่วไปจะให้ยาไปจนกว่าผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นเป็นเวลาอย่างน้อย 2-3 วันหรืออย่างน้อย 10-14 วันจึงเปลี่ยนเป็นยาปฏิชีวนะชนิดรับประทานต่อจนครบระยะเวลาการรักษาอย่างน้อย 20 สัปดาห์เพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
-
อาการเเละอาการเเสดง
-
-
-
-
-
มีอาการมีไข้ ไอ มีเสมหะ เจ็บคอ หายใจเหนื่อย มีภาวะข้อเท้าขวาอักเสบจากการติดเชื้อผล CT Upper Abdomen พบ splenic abscess ขนาด 2.7*2.7 cm กระจายอยู่ทั่วม้าม
-