Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
ยาระบบทางเดินหายใจ
ยาที่ใช้รักษาอาการไอ (Cough preparations)
การไอเป็นกลไกป้องกันร่างกายตามธรรมชาติ
ไอเพื่อขับสิ่งแปลกปลอมออกจากทางเดินหายใจ
สาเหตุของการไอ ได้แก่
สารก่อการระคายเคือง เช่นฝุ่นละออง มลภาวะ ควันบุหรี่
สารเคมี หรือยาบางกลุ่ม
เชื้อโรค
สารเมือกในทางเดินหายใจ
ยาที่ใช้รักษาอาการไอ
การแบ่งลักษณะการไอ
แบ่งตามลักษณะอาการแสดง ได้แก่
ไอแห้ง (Non-productive/ Dry
Cough)
ไอมีเสมหะ (Productive Cough)
แบ่งตามระยะเวลา ได้แก่
ไอเรื้อรัง (> 3 สัปดาห์)
ไอเฉียบพลัน (< 3 สัปดาห์)
ยาที่ใช้รักษาอาการไอ
ยาขับเสมหะ (Expectorants)
มีส่วนผสมของเมือก (mucus) และน้ำ ประกิบกัน
อาจมีเศษเซลลืที่หลุดออกจากการอักเสบ และอาจมีจุลินทรีย์ร่วมด้วยเกิดเป็น mucoprotein complex เป็นเสมหะที่ข้นเหนียว
เสมหะ (Sputum or Phlegm) เป็น polymer ขนาด
ใหญ่จาก glycoprotein ต่อกันด้วยพันธะ disulfide bond
ออกฤทธิ์กระตุ้นการกลั่งน้ำคัดหลั่งจากการเดินหายใจมากขึ้น โดย
กระตุ้น receptor ของระบบประสาท
Cholinergic ท าให้เสมหะลดความข้นเหนียวและใสขึ้น
ทำให้ขับออกจากทางเดินหายใจง่ายขึ้น
มีฤทธิ์ระคายเคืองต่อเยื่อบุทางเดินอาหาร ทำให้มี reflex ไปตาม vagus nerve ไป กระตุ้นการหลั่งน้ำคัดหลั่งจากการทางเดินหายใจมากขึ้น
กระตุ้นการทำงานของ secretory cell ของระบบทางเดินหายใจโดยตรง
อาการไม่พึงประสงค์ – ระคายเคืองต่อทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง
– Guaifenesin (Glyceryl guaiacolate)
– Ammonium carbonate
อื่น ๐ เช่น น้ำมันหอมระเหย (volatile oil) เช่น Eucalyptus oil,
ชะเอม (liquorice)
ยาละลายเสมหะ (Mucolytics)
กลไกการออกฤทธิ์
เปลี่ยนแปลงโครงสร้างของเสมหะ โดยทำลาย disulfide bond
ทำให้เสมหะมีความข้นเหนียวลดลง
เสมหะถูกขับออกง่ายขึ้น
ยา
Bromhexin (Bisolvon®)
Carbocysteine
Acetylcysteine
Ambroxol (Mucocolvan®)
ยากดการไอ (Antitussives)
ยากดการไอ (Antitussives or Cough suppressants)
-ใช้ระงับการไอแบบไอแห้ง โดยเฉพาะไอรุนแรง
- แบ่งเป็น 2 กลุ่มตามตำปหน่งการออกฤทธิ์
Central anti-tussives
1) Narcotic antitussive ได้แก่ Codeine และอนุพันธ์จากฝิ่น (Opium)
ระงับไอได้ดีมาก ใช้กรณีไอรุนแรง และไอแห้ง
Codeine สามารถถูกเปลี่ยนเป็น morphine ได้ในร่างกาย ทำให้มีฤทธิ์ลดปวด
กลไกการออกฤทธิ์: ยับยั้ง cough reflex โดยการยับยั้งที่ cough center
ใน medulla
อาการไม่พึงประสงค์
ทำให้ง่วงซึม คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก
กดการหายใจ
ข้อควรระวัง
อาจทำติดยา (dependence)
ระวังในผู้โรคหืด และ COPD (Chronic obstructive pulmonary
disease )
2) Non-narcotic antitussive ได้แก่ Dextromethorphan และ Butamirate
Dextromethorphan (Romilar®)
เป็น opioid synthetic antitussive
ข้อดี และไม่ทำให้ติดยา ไม่มีฤทธิ์ลดปวด
ข้อด้อย - ระงับไอได้น้อยกว่า Codeine
กลไกการออกฤทธิ์ : ยับยั้ง cough reflex โดยการยับยั้งที่ cough center ใน medulla
อาการไม่พึงประสงค์ - ง่วงนอน
Butamirate (Sinecod®)
ลดการอักเสบ และการหดตัวของหลอดลม
อาการไม่พึงประสงค์ - มึนเวียนศีรษะ (dizziness)
ออกฤทธิ์กดศูนย์การไอที่ medulla
Peripheral anti-tussives
กลไกการออกฤทธิ์ ทำให้ลดการส่งสัญญาณประสาทไปกระตุ้นที่ศูนย์การไอ ได้แก่
– local anesthetics เช่น ลูกอม หรือยาพ่นที่มีส่วนผสมของยา หรือสารที่ทำให้ชาหรือเย็น
– demulcent เช่น • licorice lozenges, honey (สารที่มีคุณสมบัติข้นหนืด เคลือบเยื่อบุทางเดินกายใจ เพิ่มความชุ่มชื้นในลำคอและลดการสัมผัสสารระคายเคือง จึงลดการระคายคอ )
Levodopropizine (Levopront®)
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการไอที่ถูกกระตุ้นด้วยสารเคมี และสารก่อภูมิแพ้
ยับยั้งระดับการไอที่ระดับ peripheral โดยการยับยั้ง การส่งสัญญาณประสาทส่วน afferent nerves
มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลางน้อย
อาการไม่พึงประสงค์
ง่วงซึม
ยาต้านฮิสตามีน (antihistamine )
พบใน Mass cells and Basophils
ก่อให้เกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้ (Allergy)
Histamine เป็น Autacoid (local hormones)
First – generation
มีหลายตัวยา
Diphenhydramine
Hydroxyzine (Atarax ®)
Chlorpheniramine (CPM)
imenhydrinate
Brompheniramine (BPM)
-ยาออกฤทธิ์ภายใน 15-30 นาทีหลังรับประทาน -ส่วนใหญ่มีฤทธิ์อยู่ได้ประมาณ 4-6 ชั่วโมง (1x3 pc)
ข้อบ่งใช้
แก้แพ้ ลดน้ำมูก → Chlorpheniramine (CPM) → Brompheniramine (BPM)
ลดผลผื่นคัน mild tranquilizer for anxiety → Hydroxyzine
ลดอาการไอ → Diphenhydramine (Benadryl®)
แก้อาการเมารถ (motion sickness) → Dimenhydrinate
อาการไม่พึงประสงค์
ปัสสาวะลำบาก ท้องผูก
ง่วงซึม ใจสั่น
ปากแห้งคอแห้ง (Dry mouth or throat)
Second - generation มีหลายตัวยา
ยามีหลายตัว
Levocetirizine
Fexofenadine
Loratadine
Levocetirizine
Cetirizine
อาจเรียกว่า 'Non-sedating' antihistamines / ไม่กดระบบประสาทส่วนกลาง → ไม่ค่อยมีผลง่วงซึม
มีความเจาะจงต่อ Histamine receptor สูง → ผลข้างเคียงน้อย / ออกฤทธิ์จะช้ากว่า 1st Generation (1 - 2 วัน)
ยาออกฤทธิ์ยาวนานกว่า 12 ชั่วโมง (long acting antihistamine) → กินวันละ 1-2 ครั้ง (1x1 or 1x 2)
ข้อบ่งใช้
แก้แพ้ ลดน้ำมูก ลดผดผื่นคัน ภูมิแพ้ allergic rhinitis
ยาบรรเทาอาการคัดจมูก (Nasal decongestant)
อาการคัดจมูก
หลอดเลือดที่โพรงจมูกขยายตัว → เลือดมาเลี้ยงที่โพรงจมูกมากขึ้น →โพรงจมูกมี้ลือดคั่ง และบวม → เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ
กลไกการออกฤทธิ์ เป็น α1-adrenergic receptor agonists
ลดการคั่งของเลือดในหลอดเลือด ทำให้ลดการบวมขิงเนื้อเยื่อ
ทำให้รูเปิดของโพรงอากาศในจมูก เปิดกว้างและหายใจสะดวกขึ้น
มีฤทธิ์ทำให้หลอดเลือดที่โพรงจมูกหดตัว
แบ่งตามรูปแบบยา เป็น 2 ประเภท
ชนิดรับประทาน (Systemic nasal decongestants)
– Pseudoephedrine และ Phenylephrine
อาการไม่พึงประสงค์ และ ข้อควรระวัง
-เพิ่มความดันในตา → ระวังในผู้ป่วยต้อหิน
-ทำให้ใจสั่น หัวใจเต้น → ระวังในผู้ป ่วยความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ hyperthyroid
2.ชนิดใช้เฉพาะที่ในจมูก (Topical nasal decongestants)
เป็นยาชนิดยาพ่นจมูกและชนิดยาหยอดจมูก
– Phenylephrine
– Xylometazoline
– Oxymetazoline
– Naphazoline
– Ephedrine,
– Tetrahydrozoline
อาการไม่พึงประสงค์ และ ข้อควรระวัง
– การใช้เป็นระยะเวลานานจะเกิด Rebound congestion
หากใช้มากกว่า 5 วัน ควรใช้ยารับประทาน
-อาจทำให้ระคายเคืองเยื่อบุจมูก
การดูแลเมื่อมีอาการคัดจมูก การล้างจมูก 10 ขั้นตอน
ยาพ่นจมูกแบบ steroid ลดการอักเสบ ภูมิแพ้
ยาขยายหลอดลม (Bronchodilators)
1.2 Anticholinergic
โดยยับยั้งการทำงานของ M3 receptor
ทำให้หลอดลมคลายตัว
หรือ Muscarinic receptor antagonists
อาการไม่พึงประสงค์ที่สำคัญ ปากแห้ง ง่วงซึม ปัสสาวะลำบาก
1.3 Xanthinederivatives หรือ Methylxanthines เป็นสารแอลคาลอยด์(Alkaloid) ได้จากพืช
กลไกการออกฤทธิ์ 2 แบบ
1.ออกฤทธิ์ผ่าน adenosine receptor
antagonist
ออกฤทธ์เป็น non selective
Phosphodiesterase (PDE) inhibitor
ยากลุ่มนี้ได้แก่
Theophylline (Theo-Dur®)
(Narrow therapeutic index)
Aminophylline
อาการไม่พึงประสงค์ที่สำคัญ ใจสั่น ท้องเสีย คลื่นไส้ ปวดหัว เกิด drugs interaction กับยาหลายชนิด
1.1 β2 agonists
แบบออกฤทธิ์สั้น ได้แก่ Salbutamol/ Albuterol,Terbutaline, Procaterol ใช้ส าหรับบรรเทาอาการหลอดลมหดเกร็ง
เฉียบพลัน
แบบออกฤทธิ์ยาว • ได้แก่ Salmeterol, Formoterol ใช้เป็นประจำเพื่อควบคุมอาการหอดลมตีบเกร็ง
อาการไม่พึงประสงค์ ใจสั่น หัวใจเร็ว อาหารสั่น ระดับน้ำตาลในเลือดสูง
ยาขยายหลอดลม + ยา steroid ลดการอักเสบและขยายหลอดลม