Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิด - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกแรกเกิด
การดูแลทารกประจำวัน
2.2. การประเมิน LATCH SCORE
L (Lacth) การอมหัวนมและลานนม
C (Comfort) ความสุขสบายของหัวนมและเต้านม
T (Type of nipple) รูปร่าง ขนาด และความยืดหยุ่นของหัวนมและลานนม
H (Hold) ท่าอุ้มทารกและการจับเต้านม
A (Audible) เสียงการกลืน
2.3. การอาบน้ำและการทำความสะอาดสะดือ
ควรอาบน้ำอย่างน้อยวันละ1 ครั้ง หลังการขับถ่ายควรเช็ดให้สะอาดและแห้งอยู่เสมอ ด้วยสำลีหรือผ้าชุบน้ำอุ่น ควรอาบน้ำครั้งแรกหลังคลอด 24 ชม.
สังเกตความผิดปกติของสะดือได้แก่ มีสารคัดหลั่ง แดง หรือมีเลือดซึมออกมา การเช็ดด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ เช็ดจากบริเวณฐานสะดือและเช็ดบริเวณผิวหนังของสะดือไม่ควรปิดสะดือและดูแลให้แห้งอยู่เสมอสะดือจะหลุดออกประมาณ 7-14 วันหลังคลอด
2.4. การอุ้มและการห่อตัวทารก
การอุ้ม
1.ท่าอุ้มทารกนอนขวางและแม่ประคองท้ายทอย (cross cradle hold) หรือ modified cradle hold)
ท่าอุ้มศีรษะทารกอยู่ใกล้ข้อพับแขนแม่ (cradle hold)
ท่าอุ้มลูกฟุตบอล/รักบี้ (football/rugby hold)
ท่าทารกนั่ง (sitting หรือ upright hold)
การห่อตัว
1.การห่อตัวคลุมตั้งแต่ศีรษะจรดเท้า
การห่อตัวเปิดช่วงศีรษะและลำตัวไว้
การห่อตัวเพื่อให้แขนขยับได้
2.1. การประเมินความเพียงพอในการได้รับนมแม่
ปัสสาวะ
อุจจาระ
น้ำหนักทารก
2.5. การส่งเสริมสัมพันธภาพทารกและครอบครัว
ดูแลเอาใจใส่จากบุคคลในครอบครัว และการช่วยเหลือในการดูแลตนเองและทารกในระยะหลังคลอด
การรับย้ายทารกแรกเกิด
1.1. การตรวจร่างกายทารกแรกเกิด
การวัดทั่วไป
การวัดรอบศีรษะ (Head circumference) ปกติจะยาว 33-35 เซนติเมตร และจะยาวกว่าเส้นรอบอก 2-3 เซนติเมตรและจะยาวเท่ากัน 1-2 วันหลังคลอด
เส้นรอบอก (chest circumference) วิธีวัดให้วัดผ่านบริเวณหัวนม (nipple) ทั้งสองข้าง ปกติเส้นรอบอกจะยาวประมาณ 30-32 ซม.
ลักษณะทั่วไป (general appearance)
ทารกแรกเกิดทั่วไปจะอยู่ในท่างอตัว โดยศีรษะ แขนขา มีการงอเข้าหาทรวงอกและท้อง ถ้าทารกคลอดท่า frank breech ทารกจะเหยียดขาออกชัดเจน
ผิวหนัง (skin)
ภาวะปกติของผิวหนังที่สามารถหายไปได้เอง และไม่เป็นอันตราย คือ
ไขสีขาวปกคลุมทั่วตัวและผม (vernix caseosa)
ขนอ่อน (Lanugo hair)
เม็ดสีขาวเล็กๆ ตามผิวหนัง (milia spot)
ผด (Miliaria or Sudamina)
ผื่นแดง (Erythema toxicum)
Acrocyanosis คือการมีฝ่ามือฝ่าเท้าเขียว แต่ลำตัวแดง
Cutis marmorata มีลักษณะผิวหนังลาย
Mongolian spots หรือ Hyperpigmented macule เป็นลักษณะปานสีน้ำเงินเข้ม ขอบเขตไม่ชัดเจน พบบริเวณก้นกบ แก้มก้น และหลัง
Stork bite หรือ Nevus simplex หรือ telangiec nevi เป็นปานแดง ผิวเรียบ มักพบบริเวณท้ายทอย เปลือกตาบน สันจมูก
ผิวหนังลอก (Desquamation)
สิวในทารกแรกเกิด (Acne neonatorum)
Harlequin color change เวลานอนตะแคง ด้านล่างของทารกจะเป็นสีชมพู แลถ้าสลับข้างสีก็จะเปลี่ยนตาม
ปากเขียว (Circumoral cyanosis)
ศีรษะ
ขนาด, รูปร่าง,
ความผิดปกติ
Cephalhematoma หายไปได้เองโดยใช้เวลาเป็นสัปดาห์หรือเป็นเดือน (ตั้งแต่ 2 สัปดาห์ถึง 3 เดือน ถ้ามีขนาดใหญ่มากจะเป็นสาเหตุให้เกิดภาวะ Hyperbilirubinemia
Caput succedaneum สามารถหายไปได้เองภายในระยะเวลา 2-3 วันหลังคลอด (Ricci, 2013)
ตา
หางตาชี้เฉียงขึ้น อาจพบในทารกที่มีภาวะ (Down’s syndrome )
มีเลือดออกบริเวณใต้เยื่อบุตา (subconjunctival hemorrhages)
ใบหู
ใบหูอยู่ต่ำอาจมีภาวะผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 18 (trisomies 13 or 18) และความผิดปกติของไต (renal defects) การได้ยินของทารก
จมูก (nose)
ปกติจมูกของทารกจะเล็ก แคบ มีผนังกั้นตรงกลาง รูจมูกเท่ากันทั้งสองข้าง
ปากและคอ (mouth and throat)
ทารกจะมีการทำท่าห่อริมฝีปากเหมือนกำลังดูด หรือเมื่อเอานิ้วใส่ปากทารกจะดูด เรียกว่า sucking reflex เพดานปากต้องไม่มีรอยโหว่ (clef lib cleft palate) มีลิ้นไก่ (Uvula) ไม่มีลิ้นติด (Tougue-tie) ทารกจะมีปฏิกิริยาการกลืน (gag reflex) แล้ว นอกจากนี้อาจพบ Epstein’s perals เป็นถุงน้ำ สีขาวเม็ดเล็กๆ พบบริเวณเหงือก และเพดาน จะค่อยหายไปได้เองเมื่ออายุ 2-3 สัปดาห์
ลำคอ (Neck)
เคลื่อนไหวได้อย่างอิสระทุกทิศทาง และต้องสามารถพยุงศีรษะให้อยู่กึ่งกลางได้ กระดูกไหปลาร้า (Clavicle) ของทารกต้องตรง ในทารกที่ตัวโต (macrosomia)
ทรวงอก (chest)
ทรวงอกของทากจะมีรูปร่างกลม สมมาตร มีเส้นรอบอกสั้นกว่าเส้นรอบศีรษะ 1-3 เซนติเมตร
ช่องท้อง (abdomen)
ท้องของทารกมีรูปทรงกระบอก ท้องป่องเล็กน้อยแต่ไม่มีอาการท้องอืด
อวัยวะเพศ (Genitalia)
เพศหญิง พบแคมใหญ่ (Labia majora) จะปิดคลุมแคมเล็ก (Labia minora) และอาจบวมเล็กน้อย อาจพบติ่งเนื้อยื่นออกมาเล็กน้อย (Hymenal tag) หรือต่อม bartholin มีขนาดใหญ่ หายไปได้เอง อาจพบมีมูกปนเลือดออกมา เรียกว่า Pseudomenstruation
ทารกเพศชาย อวัยวะเพศชายครบกำหนดจะมีหนังหุ้มปลาย (prepuce) องคชาติ (penis) และปลายเปิดท่อทางเดินปัสสาวะต่องอยู่ตรงกลางปลายองคชาติ ถ้าท่อปัสสาวะเปิดอยู่ส่วนล่างเรียกว่า Hypospadias ถ้าเปิดที่ส่วนบนเรียกว่า Epispadias
แขนขาและหลัง (Extremities and back)
ทารกแรกเกิดจะอยู่ในท่างอแขน ขา เข้าหาลำตัวเหมือนตอนอยู่ในครรภ์ เมื่อดึงแขน ขา ออกแล้วปล่อยแขน ขา จะกลับมาอยู่ในท่างอเช่นเดิม
ระบบประสาท (Neurologic system)
3) Tonic neck reflex
4) Rooting reflex
2) Grasping reflex
5) Sucking reflex
1) Moro reflex
6) Swalling reflex
7) Babinski reflex