Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรับผู้ป่วยใหม่และการจำหน่ายผู้ป่วย, dFQROr7oWzulq5FZXCY3b7Cqntd47KFMNX1…
การรับผู้ป่วยใหม่และการจำหน่ายผู้ป่วย
ชนิดของการรับผู้ป่วยใหม
ผู้ป่วยใน (Inpatient)
นอนพักรักษาในโรงพยาบาลมากกว่า 24 ชั่วโมง
วางแผนเป็นผู้ป่วยในหรือกรณีไม่เร่งด่วน (Planned or Non-urgent)
การรับโดยตรง (Direct admission)
การรับแบบฉุกเฉิน ( Emergency admission)
ผู้ป่วยนอก (Outpatient)
อยู่ในโรงพยาบาลน้อยกว่า 24 ชั่วโมง
ตรวจเสร็จแล้วแพทย์อนุญาตให้กลับบ้านได้
หลักการส่งเสริมการปรับตัวของผู้ป่วยที่อยู่ในโรงพยาบาล
ความเชื่อและพฤติกรรมต่างๆ
ควรให้ความเคารพในสิทธิส่วนบุคคลของผู้ป่วย
ควรยอมรับไม่แสดงความดูถูก
หรือหัวเราะเยาะ
การคำนึงถึงความเป็นบุคคลของผู้ป่วย
ให้เกียรติผู้ป่วย
ควรเรียกชื่อ และมีคำนำหน้านามที่เหมาะสม
การวางแผนให้การพยาบาล
อาศัยข้อมูลที่ได้จากการสังเกตและการซักถามต่างๆ
จะมีประสิทธิภาพหากผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการวางแผน
ความกังวลต่อความเจ็บป่วย
บอกให้ทราบถึงโรคที่เป็นอยู่
ไม่ควรพูดศัพท์ทางการแพทย์หรือภาษาอังกฤษ
พยาบาลช่วยลดความวิตกกังวล
ความแปลกใหม่ต่อสถานที่ สิ่งแวดล้อม บุคลากรทางการแพทย์ และเจ้าหน้าที่ต่างๆ
อธิบายและแนะนำ
ช่วยให้ผู้ป่วยปรับตัว
ประสบการณ์ในอดีต
ซักถามถึงประสบการณ์ในอดีต
ทำให้ทราบทัศนคติของผู้ป่วย
วัตถุประสงค์และขั้นตอนการรับผู้ป่วยใหม่
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยและญาติมีความรู้และปฏิบัติตามกฎระเบียบ
ผู้ป่วยมีเครื่องใช้ที่จำเป็นในการรักษาพยาบาล
ผู้ป่วยและญาติคลายความวิตกกังวล
ผู้ป่วยได้รับการประเมินปัญหาและความต้องการ
ผู้ป่วยมีความปลอดภัยและสุขสบายเพิ่มขึ้น
ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง เหมาะสมกับสภาพความเจ็บป่วย
การเตรียมอุปกรณ์
เอกสารรายงานการรับผู้ป่วยใหม่หรือแบบบันทึกต่างๆ
อุปกรณ์ที่จำเป็น
เตรียมเตียงหรือห้องพักผู้ป่วย
เครื่องมือตรวจสัญญาณชีพ น้้ำหนักและส่วนสูง
สมุดบันทึกการรับใหม่
เครื่องใช้ส่วนตัว
ขั้นตอนการรับผู้ป่วยใหม่
นำผู้ป่วยไปที่เตียง
วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต
ชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูง
อธิบายกิจกรรมการรักษาพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพ , ตรวจสอบชื่อ นามสกุลของผู้ป่วย
เตรียมสิ่งแวดล้อมเพื่อรับผู้ป่วยใหม่โดย
ให้ผู้ป่วยหรือญาติที่มีสิทธิตามกฎหมาย , เก็บรวบรวมข้อมูลผู้ป่วย
นำป้ายข้อมือติดที่ข้อมือผู้ป่วย
การรับแผนการรักษา
วิธีการรับแผนการรักษาแตกต่างกันไปในแต่ละสถานบริการสุขภาพ
ส่วนใหญ่จะแยกส่วนตามลักษณะของการปฏิบัติ
สาเหตุและอุปกรณ์การจำหน่ายผู้ป่วย
ประเภท
เนื่องจากผู้ป่วยหนีกลับ
เนื่องจากผู้ป่วยถึงแก่กรรม
ไม่สมัครอยู่
เนื่องจากมีการส่งต่อไปยังสถานบริการสุขภาพอื่น
เมื่อมีอาการทุเลาลง
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง
เพื่อให้ผู้ถึงแก่กรรมได้รับการปฏิบัติอย่างถูกต้อง
เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้องเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
เพื่อให้ผู้ถึงแก่กรรมมีร่างกายสะอาด
เพื่อได้รับการปฏิบัติที่ถูกต้องตามขั้นตอนของกฎหมาย
อุปกรณ์ในการจำหน่ายผู้ป่วย
เสื้อผ้าผู้ป่วย
บัตรประจำตัวของโรงพยาบาล
สมุดจำหน่ายผู้ป่วย
ใบนัด
รายงานผู้ป่วยทั้งหมด
ใบสั่งยา
กรณีถึงแก่กรรมให้เตรียมเครื่องใช้ในการอาบน้ำ
สำลี ก๊อซ บัตรติดข้อมือศพด้วย
ขั้นตอนจำหน่ายผู้ป่วย
แพทย์อนุญาตให้กลับบ้าน
แนะนำผู้ป่วยให้สอดคล้องกับสภาพความเจ็บป่วย
ให้ใบนัด พร้อมบัตรประจำตัวของผู้ป่วย
ให้ญาติผู้ป่วยไปซื้อยาตามใบสั่งยา
นำเสื้อผ้าและของมีค่าคืน
แจ้งผู้ป่วยและญาติให้ทราบ
ตรวจสอบแผนการรักษาของแพทย์
เมื่อถึงแก่กรรม
จัดท่าให้เร็วที่สุด โดยให้นอนหงาย
ผูกบัตรแข็งประจำตัวของโรงพยาบาลไว้ที่ข้อมือข้างหนึ่ง
ใช้มือลูบหนังตา
รวบรวมรายงานลงสมุดจ าหน่าย
D-M-E-T-H-O-D
E = Environment & Economic
กระตุ้นให้ผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล เห็นความสำคัญ
H = Health
ให้ความรู้เกี่ยวกับข้อจำกัดในการทำกิจกรรม
ปรับตัวเพื่อส่งเสริมการฟื้นฟูสภาพ
และการป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ
O = Outpatient referral
ให้ตระหนักและเข้าใจถึง
ความสำคัญของการมาตรวจตามนัด
D = Diet
ให้ความรู้เรื่องอาหารเฉพาะโรค
แนะนำแหล่งประโยชน์หรือสถานที่ให้คำปรึกษา
M = Medication
ให้ความรู้เกี่ยวกับยาที่ต้องรับประทาน
T = Treatment
แนะนำผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล ให้เข้าใจเป้าหมายการรักษา
แนะนำให้ปฏิบัติกิจกรรมการรักษา
D = Diagnosis
ให้ความรู้เรื่องโรคที่เป็นอยู
กับสาเหตุ อาการ การปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง
ข้อบ่งชี้และการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรม
Livor mortis
ผิวหนังจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงคล้ าๆ (Bluish purple)
เกิดทุกรายภายหลังตายประมาณ 5 ชั่วโมง
เกิดเต็มที่หลังตายประมาณ 12 ชั่วโมง
Rigor mortis
การแข็งทื่อของร่างกายหลังเสียชีวิต
เกิดจากการหดเกร็งของกล้ามเนื้อโครงกระดูก และกล้ามเนื้อเรียบ
Algor mortis
อุณหภูมิของร่างกายลดลง 1◦C (1.8◦F) ต่อชั่วโมง
การพยาบาลภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรม
การพยาบาล
การแต่งศพ
วัตถุประสงค์
ดูแลจัดเก็บของใช้
ประสานงานหน่วยงานหรือบุคลากรที่เกี่ยวข้องได้ถูกต้อง
ดูแลจัดการตามข้อกฎหมาย กฎระเบียบของโรงพยาบาล
เขียนบันทึกรายงานที่เกี่ยวข้องได้ถูกต้อง
เตรียมศพให้สะอาด
ขั้นตอนการแต่งศพ
สวมถุงมือ
เตรียมอุปกรณ์
ถ้ามีแผลต้องตกแต่งแผลให้เรียบร้อย
จัดสถานที่และสิ่งแวดล้อม
ล้างมือก่อนจัดเตรียมของใช
เก็บอุปกรณ์การรักษาพยาบาลทุกชนิดออกจากศพ
ถ้ามีฟันปลอม ตาปลอมต้องรีบใส่
จัดศพให้นอนหงายดูคล้ายคนนอนหลับ
ปิดปากและตาทั้ง 2 ข้างให้สนิท
เช็ดตัวให้สะอาด
ผูกป้ายชื่อที่ข้อมือ
ตามประเพณี และศาสนาของผู้ป่วย
การปฏิบัติตามหลักศาสนาและประเพณี
การอาบน้ำแต่งตัวศพ
แต่งตัวให้สมฐานะของผู้ตาย
ประเพณีไทยใช้วิธีการรดน้้ำศพเป็นการขอขมา
หลักปฏิบัติทางกฎหมายและระเบียบของโรงพยาบาล
นำหลักฐานต่างๆมายื่นให้กับเจ้าหน้าที่ในหอผู้ป่วย
นำใบรายงานของแพทย์ไปแจ้งเทศบาลภายใน 24 ชั่วโมง และขอใบมรณะบัตร
นำใบมรณะบัตรไปแจ้งที่วัดเพื่อเผาศพ
ผู้ตายไม่สามารถทำนิติกรรมใด ๆ ได้อีกต่อไป