Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Status Bed ridden, S__17801222, S__17842206 - Coggle Diagram
Status Bed ridden
-
Pneumonia ปอดอักเสบ
ความหมาย
การอักเสบของปอดที่มีผลต่อการแลกเปลี่ยนอากาศ แบ่งชนิดจามสาเหตุการเกิด เช่น การเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย หรือการเกิดจากเชื้อไวรัส สามารถแบ่งตามการกระจายได้ 2 ลักษณะ คือ 1.Lobar pneumonia เกิดเป็นบริเวณกว้างทั่วทั้งกลีบปอด ทำให้เนื้อปอดแข็งกว่าปกติ 2.Lobular bronchpneumonia มีลักษณะการอักเสบแบบกระจาย เกิดในเนื้อปอดเป็นหย่อมๆทั้วทั่งปอด
พยาธิสภาพ
การเปลี่ยนแปลงทางสรีระเกิดกระบวนการอักเสบคือ ปัญหาการระบายอาการหายใจ ซึ่ง Pneumonia สามารถติดได้ทั้งจากชุมชน(community acquired) และสามารถติดได้จากโรงพยาบาล(hospital acquired)
สามารถแบ่งออกได้ 3 ระยะ คือ
1.ระยะบวมคั่ง (Stage of Congestion or Edema)เมื่อเชื้อโรคเข้าสู่ปอดจะแบ่งตัวอย่าง รวดเร็วร่างกายจะมีปฏิกิริยา ตอบสนอง มีโลหิตมาคั่ง ในบริเวณที่มีการอักเสบและขยายตัวของหลอดเลือดฝอยที่ผนังถุงลม มีแบคทีเรีย เม็ดโลหิตแดง ไฟบริน และเม็ดโลหิตขาว(เป็นพวกนิวโตรฟิล และโฟลิมอร์ฟ)หลังจากเชื้อโรคเข้าสู่ปอด
2.ระยะเนื้อปอดแข็ง (Stage of Consolidation) ต่อมาจะมีจำนวนเม็ดโลหิตขาวเข้ามาแทนที่เม็ด โลหิตแดงในถุงลมมากขึ้นเพื่อกินเชื้อโรค ระยะนี้ถ้าตัดเนื้อปอดมาดูจะเป็นสีเทาปนดำ (grey heptatization) เนื่องจากมีหนอง(Exudates) เซลล์โพลีมอร์โฟและไฟบริน การ unflamatoหลอดโลหิตฝอยที่ผนัง ถุงลมปอดก็จะหดตัวเล็กลง จากการที่ผนังถุงลม บวม มีหนองในถุงลมทำให้การระบาย อากาศภายในปอดไม่เพียงพอและหลอดลมหดรัด ตัวทำทำให้อุดกั้นทางเดินอากาศด้วย ทำให้ความดันออกซิเจน ในถุงลมลดลง โลหิตดำที่เข้า สู่ปอดในส่วนที่อักเสบและมีการระบายอากาศน้อยกลับเข้าสู่หัวใจซีกซ้ายโดยไม่ มี ออกซิเจน ทำให้โลหิตไปเลี้ยงร่างกายขาดออกซิเจน
3.ระยะปอดฟื้นตัว (Stage of Resolution) เมื่อร่างกายสามารถต้านทานโรคไว้ได้เม็ด โลหิตขาวสามารถทำลาย แบคทีเรียที่อยู่ในถุงลมปอดได้หมด จะมีเอนไซม์ออกมาละลาย ไฟบริน เม็ดโลหิตขาวและหนองจะถูกขับออกมาเป็นเสมหะมีลักษณะเป็นสีสนิมเหล็ก เพราะมีโลหิตค้างอยู่ เนื้อปอดมักกลับคืนสู่สภาพปกติได้การ อักเสบที่เยื่อหุ้ม ปอดจะ หายไปหรือมีพังผืดขึ้นแทน
ระยะเนื้อปอดแข็ง (Stage of Consolidation) ต่อมาจะมีจำนวนเม็ดโลหิตขาวเข้ามาแทนที่เม็ด โลหิตแดงในถุงลมมากขึ้นเพื่อกินเชื้อโรค
-
การวินิจฉัยโรค
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
- การตรวจนับจำนวนเม็ดเลือด (CBC)
-ค่า WBC
วันที่ 16/08/63 ได้ 10.2 103 /uL
วันที่ 17/08/63 ได้ 10.1 10**3 /uL
วันที่ 23/08/63 ได้ 11.5 103 /uL
-ค่า %Neutrophil
วันที่ 16/08/63 ได้ 78 %
วันที่ 17/08/63 ได้ 88 %
วันที่ 23/08/63 ได้ 75 %
-ค่า Lymphocyte
วันที่ 16/08/63 ได้ 11 %
วันที่ 17/08/63 ได้ 4 %
วันที่ 23/08/63 ได้ 18 %
2.ภาพรังสีทรวงอก
ผู้ป่วยมีฝ้าขาวในปอด เป็นน้อยกว่าปี 2562
วันที่ 14/08/63 อาการน้ำท่วมปอดและปอดอักเสบดีขึ้น
วันที่24/08/63 อาการน้ำท่วมปอดและปอดอักเสบดีขึ้น
-
อาการและอาการแสดง
ไข้สูง หนาวสั่น มีการอักเสบของหลอดลม ไอ มีเสมหะ มีการอุดกั้นทางเดินหายใจ หายใจตื้น หายใจลำบาก หายใจเร็ว เจ็บหน้าอกขณะหายใจ
-
การรักษา
มีการติดตามอาการการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยตลอด เมื่อมีอาการผิดปกติ เช่น ค่า O2 ต่ำกว่า 95% จะมัการ On cannula 3 LPM
-
-
-
Bed sore แผลกดทับ
ความหมาย
การบาดเจ็บของผิวหนังหรือเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังโดยส่วนมากที่อยู่บริเวณเหนือปุ่มกรระดูก ซึ่งเป็นผลมาจากแรงกด(pressure) หรือแรงกดร่วมกับแรงเฉือน(shear)
พยาธิสภาพ
เกิดจากอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งในร่างกายได้รับแรงกดเป็นเวลานาน อันส่งผลให้เลือดไหลเวียนไปเลี้ยงบริเวณดังกล่าวไม่เพียงพอ หากเลือดไม่ไปเลี้ยงอวัยวะที่ถูกดทับ เนื้อเยื่อของอวัยวะดังกล่าวจะถูกทำลายและเริ่มตาย เนื่องจากเลือดจะลำเลียงออกซิเจนและสารอาหารต่าง ๆ ที่จำเป็นและช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย อีกทั้งยังส่งผลให้ผิวหนังไม่ได้รับเซลล์เม็ดเลือดขาวสำหรับต้านทานเชื้อโรค ทำให้เกิดการติดเชื้อที่แผลกดทับได้
เนื่องจากผู้ป่วยเป็นผู้ป่วยติดเตียงการนอนท่าเดิมเป็นระยะเวลานานจะเกิดแรงกดตามบริเวณปุ่มกระดูกจุดต่างๆ ส่งผลให้เลือดไปเลี้ยงบริเวณนั้นลดลง เนื้อเยื่อได้รับอาหารและ ออกซิเจนไม่เพียงพอ ขาดเลือดและขาด ออกซิเจนไปเลี้ยง จึงเกิดการตายของเนื้อเยื่อ พื้นผิวรองรับ ผิวหนังบริเวณนั้น เนื่องจากแรงกด(Pressure) แรงเฉือน (shear) แรงเสียด (Friction)
-
-
-
-
-
ข้อมูลผู้ป่วย
-ผู้ป่วยชายไทยอายุ 63 ปี อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล มีไข้ คลื่นไส้อาเจียน 3 ครั้ง 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล
- ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน ผู้ป่วยชายไทย อายุ 63 ปี มีโรคประจำตัว Hypertension (HT) โรคความดันโลหิตสูง Dyslipidemia (DLP) โรคไขมันในเลือดสูง Hypothyroidism ภาวะขาดไทรอยด์Epilepsy ชัก Stroke โรคหลอดเลือดสมอง ผู้ป่วยมีภาวะ Bed ridden On tracheostomy tube มา 10 ปี ได้รับการผ่าตัด tracheostomy tube ที่วชิรพยาบาล ทำการประเมิน Glascow coma scale E4V5M1 ได้ 10 คะแนน ระดับ moderate การประเมินการรับความรู้สึกด้วยความเจ็บปวด (deep pain response) โดยกดกระดูกสันอก(sternum) กดที่เล็บ กดที่ periorbital ผลคือผู้ป่วยมีปฏิกิริยา respone to deep pain คือผู้ป่วยมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อความเจ็บปวด ประเมิน Motor power ได้ grade 1 คือสามารถกระดิกนิ้วได้ มี Bed sore stage 3 บริเวณก้นกบ ขนาดแผลกว้าง 2 เซนติเมตร ยาว 4 เซนติเมตร แผลปิดด้วย Gauze และปิดทับด้วย fixumul ปัจจุบันพักอาศัยอยู่ที่ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุพระราม 5 โดยมีเจ้าหน้าที่ศูนย์ให้การดูแล เจ้าหน้าที่ศูนย์ที่ให้การดูแลสังเกตเห็นว่าผู้ป่วยมีไข้ คลื่นไส้อาเจียน 3 ครั้ง จึงนำผู้ป่วยส่งห้องฉุกเฉินสถาบันบำราศนราดูร จากการสอบถามญาติผู้ป่วยเตียงข้างๆและเจ้าหน้าที่พยาบาลบนหอผู้ป่วย พบว่าความสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วยและเจ้าของศูนย์ดูแลผู้สูงอายุเป็นไปในทางที่ดี สังเกตได้จากการเจ็บป่วยครั้งนี้เจ้าของศูนย์ที่ผู้สูงอายุอาศัยอยู่มีการมาเยี่ยมตลอด
-
-