Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Congestive heart failure, ผู้[ป่วยชายไทย อายุ 57 แพทย์วินิจฉัยว่าเป็น…
Congestive heart failure
-
อาการและอาการแสดง
ทฤษฏี
หัวใจข้างขวาล้มเหลว
อาการเหนื่อยล้า (Fatigue),ปัสสาวะออก
น้อย (Oliguria) ,ห้องมาน (Ascites)
ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยล้า (Fatigue),ปัสสาวะออก
น้อย แต่บ่อยครั้ง
-
-
-
ชีพจรเบา (Faint pulses),ตับโต
( Hepatomegaly)
-
-
หัวใจข้างซ้ายล้มเหลว
การหายใจลำบาก (Dyspnea) , อาการไอ (Cough) ,อาคารผุด
ลุกผุดนั่ง(Restlessness)
-
-
ฟังปอตได้ยินเสียง Crepitation ,อาคารเขียว (Cyanosis)
หัวใจเต้นเร็ว (Tachycarolia) ,ชีพจรเบา (Faint pulses)
,อาการเหนื่อยล้ำ (Fatigue)
ปัสสาวะออกน้อย (Oliguria) แรงดันปอด แรงดันที่หลอดเลือด
ฝอยสูงขึ้น (Elevated Pulmonary Capilary Wedge Pressure)
-
-
สาเหตุ
ทฤษฏี
1.ปริมาณเลือดที่กลับเข้าสู่หัวใจเพิ่มขึ้น (Increased
preload)เช่น ลิ้นหัวใจรั่ว ทำให้เลือดที่บีบออกจากหัวใจเข้ามาที่หัวใจมากขึ้น ทำให้หัวใจทำงานหนัก
-
-
4.ปัจจัยอื่นๆ ภาวะเลือดจาง การติดเชื้อ Hyperthyroidism ความดัน
โลหิตสูง โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ภาวะไตวาย
-
ภาวะแทรกซ้อน
ทฤษฏี
ไตวาย เมื่อไตไม่ได้รับเลือดและออกซิเจนอย่างเพียงพอ ไตก็จะเริ่มเสื่อม และอาจส่งผลให้ไตวายเรื้อรังได้ในเวลาต่อมา ผู้ป่วยจะต้องใช้วิธีการฟอกไตเข้าช่วย
-
โรคลิ้นหัวใจ ลิ้นหัวใจมีหน้าที่ในการควบคุมการไหลเวียนของเลือดที่ผ่านหัวใจ แต่เมื่อหัวใจวาย ก็จะทำให้มีอาการหัวใจโต หรือหัวใจเกิดแรงดันภายในมากขึ้น จนลิ้นหัวใจไม่สามารถทำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดความเสียหายหรือเสื่อมสภาพตามมาในที่สุด
หัวใจเต้นผิดจังหวะ พบได้ในผู้ป่วยหัวใจวาย เพราะเมื่อกล้ามเนื้อหัวใจทำงานผิดปกติ ก็จะส่งผลต่อการเต้นของหัวใจได้
อาการอ่อนเพลียอย่างรุนแรง เมื่อร่างกายสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอ ร่างกายก็จะได้รับออกซิเจนลดลงจนทำให้อ่อนเพลียอย่างรุนแรงได้
-
ตับเสียหาย เมื่อหัวใจวาย ร่างกายจะเกิดการสะสมของเหลวมากขึ้นทำให้ตับทำงานผิดปกติ และเกิดความเสียหายได้
การรักษา
ทฤษฏี
- การเพิ่มความเข้มข้นของออกซิเจนในการหายใจ โดยการให้ออกซิเจน 4-5 ลิตร/นาที ทาง Cannula หรือ 6-10 ลิตร/นาที ทาง Mask
-
2.การลดการทำงานของหัวใจโดยการให้ผู้ป่วยพักอยู่บนเตียง เพื่อเป็นการลดการใช้ ออกซิเจนในร่างกายและในผู้ป่วยที่กระสับกระส่ายมากให้Morphire 2-3 มิลลิกรัม
-
3.การเพิ่มประสิทธิภาพการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจโดยการให้ยา Digitalis , Dopamine, Dobutamine เพื่อเพิ่มแรงบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจทำให้เลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายได้ดีขึ้น
4.การลดปริมาณเลือดไหลกลับเข้าหัวใจโดยการให้ยาขับปัสสาวะเพื่อลดปริมาณน้ำใน ร่างกาย โดยการให้ Furosermide 20-40 มิลลิกรัมการให้อาหารจืด
-
-
-
5.การลดแรงต้านทานในหลอดเลือดโดยการให้ยาขยายหลอดเลือด เพื่อลดแรง ต้านทานจากการบีบตัวของหัวใจ เช่น ยา Hydralazins, Prazasin , Nifediping หรือ
Captopril
การวินิจฉัยโรค
ทฤษฏี
การซักประวัติ
-
-
-
-
-การเจ็บร้าว มีการเจ็บร้าวชาไปที่บริเวณแขนซ้ายมากกว่าแขนขวาทางด้านนิ้วก้อย
-ระยะเวลาการเจ็บประมาณ 10-30 นาที
-
ตรวจร่างกาย
-
- คลำเช่น คลำมาม คลำตับ การวินิฉัยจะคลำพบม้ามโต ดับโต กด
เจ็บ, บวมส่วนปลาย
-
-
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-
การตรวจสวนหลอดเลือดหัวใจ (Coronary angiography) โดยการสอดสายสวนเข้าไปที่หลอดเลือดหัวใจและฉีดสารที่ทึบแสงเพื่อประเมินสภาพการตีบหรืออุดตันและตำแหน่งการอุดตันของหลอดเลือดหัวใจ
-การตรวจเลือดหาค่า Cardiac toponine T พบมีค่ามากกว่า 0.1 ng/mL,Toponine พบมีค่ามากกว่า 2.0 ng/mL และ CK-MB พบมีค่าสูงมากกว่า 6 % หรือ 2 เท่าของค่า
-
พยาธิสภาพ
ทฤษฏี
หัวใจด้านขวาล้มเหลว
เกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างขวา ไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปฟอกที่ปอดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งมักเกิดจากแรงดันในหลอดเลือดฝอยที่ปอดสูงขึ้นและกล้ามเนื้อหัวใจล่างขวาตาย
ส่งผลให้ความดันในหัวใจห้องล่างขวาเพิ่มขึ้นและจะมีผลกระทบต่อการไหลเวียนของเลือดดำทั่วร่างกาย เนื่องจากมีภาวะน้ำคั่ง
-
-
ทำให้ผู้ป่วยมีอาการบวม ดับและม้ามโต ลำไส้บวมจนมีอาการจุกแน่นใต้ชายโครง มีอาการเบื่ออาหาร ท้องมาน หลอดเลือดดำที่คอ โป่งพอง และปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน
-
หัวใจด้านซ้ายล้มเหลว
-
-
-
หัวใจห้องบนซ้ายจึงบีบเลือดส่งมายังหัวใจห้องล่างซ้ายน้อยลง ปริมาตรเลือดและความตันเลือดในหัวใจห้องบนซ้ายจึงสูงขึ้นเรื่อยๆ
เลือดจากปอดที่ฟอกแล้วไหลข้าสู่หัวใจห้องบนซ้ายได้น้อยลงเป็นผลทำให้ความดันในหลอกเลือดฝอยที่สูงขึ้นทำให้ของเหลวออกจากหลอดเลือดฝอยที่ปอดเข้าสู่ถุงลมทำให้ผู้ป่วยมีภาวะน้ำท่วมปอด หอบเหนื่อย ไอ และเขียว
-
ผู้[ป่วยชายไทย อายุ 57 แพทย์วินิจฉัยว่าเป็น Congestive heart failure หัวใจล้มเหลวอาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล หายใจเหนื่อยหอบ แน่นหน้าอก 1 ชั่วโมง ก่อนมาโรงพยาบาล ตรวจ Chest X-ray ตรวจพบโรคหัวใจโต และ Dx. pulmonary congestion with RLL
pneumonitis. เลือดคั่งในปอดและปอดอักเสบด้านล่างขวา ผลการตรวจตรวจ EKG ไม่พบความผิดปกติ การรักษาที่ได้รับ O2 cannula 3-5 LPM keeb O2 > 95% , Bromhexine (8) 1x3 pc Folic acid (5) 1x1 pc Losartan (100) 1x1 pc Caraten 6.25 mg tab Lasix 40 mg 1 x 2 tab pc แพทย์สั่งงดอาหารนอกโรงพยาบาล