Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยในกลุ่มประเทศในทวีปเอเซีย - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยในกลุ่มประเทศในทวีปเอเซีย
ประเทศไทย
ที่ตั้ง ตั้งอยู่บนคาบสมุทรอินโดจีนซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย
พื้นที่ 513,120 ตารางกิโลเมตร มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลกและเป็นอันดับที่ 3 ในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้
วันชาติวันที่ 5 ธันวาคม
ลักษณะภูมิอากาศ ภูมิอากาศของไทยเป็นแบบเขตร้อน หรือแบบสะวันนา มีอุณหภูมิเฉลี่ย 18-34 °C และมีปริมาณฝนตกเฉลี่ยตลอดปีกว่า 1,500 มิลลิเมตร สามารถแบ่งได้เป็น 3 ฤดูกาล คือ ร้อน หนาว และ ฝน
เมืองหลวง กรุงเทพมหานคร มีประชากร 66,558,935 คน
ลักษณะภูมิศาสตร์
ภาคเหนือ เป็นพื้นที่ภูเขาสูงสลับซับซ้อน จุดที่สูงที่สุดในประเทศไทย คือ ดอยอินทนนท์
ภาคอีสาน ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ของที่ราบสูงโคราช สภาพของดินค่อนข้างแห้งแล้งและไม่ค่อยเอื้อต่อการเพาะปลูก
ภาคกลาง เป็นที่ราบลุ่มแม่น้้าที่มีความอุดมสมบูรณ์ที่สุดในประเทศ และถือได้ว่าเป็นแหล่งปลูกข้าวที่ส้าคัญ
ภาคใต้เป็นส่วนหนึ่งของคาบสมุทรไทย-มาเลย์ ขนาบด้วยทะเลทั้งสองด้าน มีจุดที่แคบลง ณ คอคอดกระ แล้ว
ขยายใหญ่เป็นคาบสมุทรมลาย
ภาษา
ประเทศไทยมีภาษาไทย เป็นภาษาทางการ
ศาสนา ประชากรไทยนับถือศาสนาพุทธ ประมาณร้อยละ 94.6 ศาสนาอิสลามประมาณร้อยละ 4.2 ศาสนาคริสต์ประมาณร้อยละ 1.1
ระบอบการปกครอง
ประเทศไทยปกครองในรูปแบบ ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
การศึกษา การศึกษาภาคบังคับในประเทศไทยเริ่มมีขึ้นตั้งแต่ปี 2464 กฎหมายก้าหนดให้รัฐบาลจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานแบบให้เปล่าแก่ประชาชนเป็นเวลา 12 ปี ส่วนการศึกษาภาคบังคับก้าหนดไว้ 9 ป
เศรษฐกิจ ประเทศไทยมีเศรษฐกิจแบบผสม มีรายได้หลักจากอุตสาหกรรม การส่งออกสินค้าและบริการ การท่องเที่ยว การบริการ เกษตรกรรมและทรัพยากรธรรมชาต
การคมนาคม
้การขนส่งทางบกเป็นหลัก คือ อาศัยรถยนต์และจักรยานยนต์ นอกจากนี้ระบบขนส่งมวลชนจะมีการบริการตามเมืองใหญ่ต่าง ๆ ได้แก่ระบบรถเมล์ และรถไฟ รวมถึงระบบที่เริ่มมีการใช้งานรถไฟลอยฟ้า และรถไฟใต้ดินและในหลายพื้นที่จะมีการบริการรถสองแถว รวมถึงรถรับจ้างต่าง ๆ ได้แก่ แท็กซี่ เมล์เครื่อง มอเตอร์ไซครับจ้าง และรถตุ๊กตุ๊ก ในอดีตประเทศไทยเคยมีการคมนาคมโดยใช้รถรางที่มีลักษณะคล้ายรถไฟ
การคมนาคมทางอากาศ ปัจจุบันประเทศไทยได้เปิดใช้ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่งถือได้ว่าเป็นท่าอากาศยานขนาดใหญ่ที่สุดของประเทศ
การคมนาคมทางน้้า โดยอาศัยเรือเป็นหลัก ประเทศไทยมีท่าเรือหลักคือ ท่าเรือกรุงเทพ คลองเตย และท่าเรือแหลมฉบัง
อาหาร
คนไทยบริโภคข้าวเป็นอาหารหลัก โดยนิยมกัน 2 ชนิดคือ ข้าวเหนียวและข้าวเจ้า
การรักษา
สิทธิสวัสดิการการรักษาพยาบาลของข้าราชการ
สิทธิประกันสังคม
สิทธิหลักประกันสุขภาพ 30 บาท
ความเชื่อเกี่ยวกับหญิงตั้งครรภ์ในโบราณ
ห้ามไปร่วมงานศพ โดยเฉพาะ คนท้องแก่หากจ้าเป็นต้องไปต้องติดเข็มกลัด เชื่อว่า
จะมีวิญญาณร้ายจะสิงหรือติดตามทารก การติดเข็มกลัดจะช่วยป้องกันสิ่งชั่วร้าย
เชื่อว่าการอยู่ไฟ หรือการนอนอยู่ใกล้ ๆ กองไฟ จะช่วยฟื้นฟูร่างกายที่เหนื่อยล้าจากการคลอดลูก ช่วยให้
ร่างกายของคุณแม่กลับเข้าสู่สภาวะสมดุลได้เร็ว กระตุ้นการไหลเวียนของเลือด และช่วยให้มดลูกเข้าอู่ได้เร็วขึ้น
เชื่อว่า ผู้หญิงตั้งครรภ์ที่อาบน้้าตอนกลางคืนจะท้าให้ถุงน้้าคร่้าหนาและท้าให้คลอดลูกยาก
เชื่อว่าถ้าคนท้องนอนหงายลูกจะดิ้นแรงท้าให้ท้องแตก
เชื่อว่าการกินกล้วยน้้าว้าจะท้าให้คนท้องคลอดลูกยาก เพราะกินกล้วยน้้าว้าจะท้าให้เด็กตัวใหญ
ห้ามคนท้องกินผักเป็นเครือเป็นเถา เพราะเชื่อว่าจะท้าให้ปวดเมื่อยตามตัวและขามากกว่าปกต
อะไรก็ตามที่เป็นสีด้าคนท้องห้ามกิน เพราะจะท้าให้ลูกที่เกิดมามีผิวด้า
เชื่อว่าการมีเพศสัมพันธ์ระหว่างตั้งครรภ์จะท้าให้แท้งบุตรหรืออาจคลอดก่อนก้าหนดได้
ความเชื่อเกี่ยวกับหญิงตั้งครรภ์ในแต่ละภาค
ภาคเหนือ
ผู้หญิงท้องในภาษาเหนือ จะเรียกว่า แม่มาน ความเชื่อในเรื่องอยากกินของแปลกๆของแม่มาน คนเหนือจะเชื่อว่า จะท้าให้รู้ว่าเด็กในท้องนั้นก้าเนิดมาจากภพภูมิไหน เช่น ถ้าแม่มานอยากกินของสดของคาว ก็เชื่อกันว่า เด็กในท้องเป็นสัตว์นรกมาเกิด ถ้าแม่มาน อยากกินของที่มีรสหวาน ก็เชื่อว่าเด็กนั้นมาจากสวรรค์ อพรหมลงมาเกิด และถ้าแม่มานอยากกินของเผ็ดของร้อนก็แปลว่าเป็นมนุษย์มาเกิด
ภาคกลาง
ผลต่อการคลอด
มะเขือขื่น เชื่อว่าจะท้าให้เหนียว ท้าให้คลอดลูกยาก
ไข่ เชื่อว่าท้าให้มีไขมาก ท้าให้คลอดลูกออกมาจะเหม็นคาว
น้้าข้าว เชื่อว่าจะท้าให้น้้าค้าหนามากและลูกคลอดยาก
ของคาว ปลาไหล เนื้อวัวสัตว์ใหญ่ที่มีไข่มาก เชื่อว่าท้าให้ไขมันเกาะเด็กมากจะท้าให้ลูกคลอดยาก
ข้าวติดก้นหม้อหรือข้าวตัง เชื่อว่าท้าให้คลอดลูกยาก
ไข่ที่ยังไม่ฟัก เชื่อว่าจะท้าให้แท้งและพัดพรากจากกัน
ผลต่อเด็ก
อาหารที่มีไขมันกะทิเนื้อวัว เชื่อว่าท้าให้เด็กอ้วน คลอดลูกยาก เป็นโรคผิวหนัง
น้้าอัดลมมีกรดท้าให้ท้องโตขึ้นน้้าอัดลมกัดท้องจะเป็นอันตรายต่อลูกในท้อง
อาหารรสเปรี้ยว เชื่อว่าท้าให้ลูกปวดท้อง สายตาไม่ดี
โอเลี้ยง เชื่อว่าจะท้าให้เด็กตัวด้า
อาหารรสจัดโดยเฉพาะรสเผ็ด เชื่อว่าท้าให้ลูกไม่สบาย ท้าให้ลูกปวดแสบปวดร้อน ท้าให้ผมร่วง ผมน้อย ตาฟางตาเหล่ สายตาไม่ด
ภาคใต้
ห้ามกินแกงบอนสับปะรดเพราะเชื่อว่าจะกัดท้าให้รกเปื่อย
ไม่ให้กินของที่มีสีด้า เช่น โอเลี้ยง ถั่วด้า ข้าวเหนียวด้า เพราะเชื่อว่าลูกเกิดมาจะมีผิวด้า
ห้ามกินหอยเพราะเชื่อว่า รกจะพันเป็นอันตรายแก่เด็ก
ไม่ให้กินเนื้อมะพร้าวมากเกินไปเพราะเชื่อว่าลูกหัวแข็ง ท้าให้ลูกคลอดยาก
ห้ามคนท้องกินปลีกล้วยเชื่อว่าท้าให้รกเปื่อยคลอดลูกยาก
ห้ามกินอาหารที่มีอุณหภูมิร้อนๆ เชื่อว่าเด็กจะตัวโต คลอดล้าบาก
ห้ามกินฟักเขียวฟักทองเพราะเชื่อว่าจะท้าให้รกเปื่อย
ภาคอีสาน
กินทุเรียนจะท้าให้ลูกออกมาผิวเหมือนทุเรียน
ห้ามกินอาหารที่มีเผ็ดหรือเค็มจัด เชื่อว่าเด็กจะหัวล้าน
.กินเบียร์หรือสไปร์ทจะท้าให้ผิวสวย
กินอาหารมันจะท้าให้คลอดลูกยาก
กินของร้อนๆอาจจะแท้งได้
พฤติกรรมเสี่ยง
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
คนไทยกินรสหวาน เค็ม มากขึ้น โดยสัดส่วนของคนที่กินรสหวานเป็นอาหารมื้อหลัก และยังพบว่าคนไทยบริโภคผักและผลไม้สดลดลง ถึงแม้ว่าคนไทยส่วนใหญ่จะมีการบริโภคผักและผลไม้อย่างน้อย 1 วันในแตละสัปดาห์ แต่สัดส่วนของคนที่กินผักผลไม้ทุกวันกลับลดลง
พฤติกรรมต่อการเกิดความเครียดและปัญหาความรุนแรง
ิถีการด้ารงชีวิตที่เร่งรีบของคนไทย มีการแข่งขันกันประกอบอาชีพและการหารายได้เพื่อใช้จ่ายในครอบครัว การยึดติดกับการบริโภควัตถุจนเกินไป ส่งผลต่อสภาพอารมณ์และจิตใจของผู้คนในชุมชน
พฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหต
คนไทยมีนิสัยฝ่าฝืนกฎจราจรของผู้ขับขี่ เมาหรือง่วงนอนแล้วขับขี่รถยนต์ท้าให้เกิดอุบัติเหตุ ไม่สวมหมวกนิรภัยขณะขับขี่รถจักรยานยนต์ หรือไม่คาดเข็มขัดนิรภัยขณะขับขี่รถยนต์
การดูแลผู้ป่วย
การพยาบาลที่ให้คุณค่าความหลายหลายทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกันของคนในชาติและความเชื่อ โดยประเทศไทยให้การพยาบาลผู้ป่วยทั้งทางด้านอร่างกายและจิตใจ โดยประเทศไทยมีการรักษาผู้ป่วยตามความเชื่อเรื่องเหนือธรรมชาติ เรื่องผีสางที่คนในชุมชนนับถือและให้ความส้าคัญเป็นอย่างมาก คนไทยื่อว่าการเจ็บป่วยเกิดจากอ้านาจเหนือธรรมชาติ โดยการรักษาผู้ป่วยแบบการประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ การเรียกขวัญ หรือการขึ้นครูตามความเชื่อของคนในชุมชน การรักษาตามภูมิปัญญาพื้นบ้านคือการอยู่ไฟหลังคลอด และยังมีการรักษาแบบแพทยแผนตะวันตก คือการดูแลทางการพยาบาลกับหมอที่โรงพยาบาล เมื่อเกิดอาการ
เจ็บป่วยประเทศไทยสามารถรักษากับหมอผู้หญิงหรือหมอผู้ชายก็ได้ และสามารถเลือกสถานที่ หรือรูปแบบการรักษาทางการพยาบาลได้โดยรักษาที่โรงพยาบาลหรือคลินิก คนไทยเมื่อเกิดอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยมักจะซื้อยามาทานเองและรักษาด้วยการใช้สมุนไพรกินหรือทาช่วยในการรักษาโรคหรือบาดแผลต่าง ๆ
แนวทางในการน้าทฤษฎีไปใช้ในการปฏิบัติการพยาบาล
โดยใช้กระบวนการพยาบาล
การประเมิน
คนไทยนิยมรับประทานอาหารรสจัด รับประทานอาหารรสหวาน เค็ม มากขึ้นและยังพบว่าคนไทยบริโภคผักและผลไม้สดลดลง และเยาวชนส่วนใหญ่นิยมดื่มเครื่องดื่มมึนเมาและสูบบุหรี่ ถึงร้อยละ 30.7 เพื่อที่ต้องการแสดงความทันสมัย ต้องการเข้าสังคมในกลุ่มเพื่อนและเลี่ยนแบบสื่อต่างๆ
2.ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
มีโอกาสเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เนื่องจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารของคนไทยที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค
มีโอกาสเสี่ยงต่อโรคที่เกิดจากโทษของสุรา บุหรี่ และเกิดอุบัติเหตุทางท้องถนน เนื่องจากดื่มเครื่องดื่มมึนเมาอาจท าให้มความบกพร่องในการรับรู้ในขณะนั้น
3.การวางแผนการพยาบาล
แนะน้าการรับประทานอาหารที่ประโยชน์แก่ร่างกาย
3.อธิบายและให้รู้ถึงโทษของการดื่มสุราหรือเครื่องดื่มมึนเมาและโทษของการสูบบุหร
ให้ความรู้ด้านโภชนาการและอธิบายถึงประโยชน์และโทษของการรับประทานอาหารเกินพอด
แนะน าวิธีการเลิกดื่มสุราหรือเครื่องดื่มมึนเมาและเลิกสูบบุหรี่
4.การปฏิบัติการพยาบาล เป็นการพยาบาลสอดคล้องกับความเชื่อและวัฒนธรรม
คนไทยมีความรู้ด้านโภชนาการและรู้ถึงคุณประโยชน์และโทษของอาหาร
ลดโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรค
แนวทางในการน้าทฤษฎีไปใช้ใน
การปฏิบัติการพยาบาลส้าหรับหญิงตั้งครรภ์
การประเมิน
คนไทยในภาคต่าง ๆ มีความเชื่อในเรื่องของการตั้งครรภ์ที่หลากหลายและแตกต่างกัน เช่น ภาค
กลางเชื่อว่าการน าดอกบัวที่นาคถือเข้าโบสถ์มาทาน ภาคอีสานเชื่อว่าหากดื่มเบียร์จะท าให้ลูกผิวสวย
ข้อวินิจฉัย
มีโอกาสเสี่ยงเกิดอันตรายต่อเด็ก เนื่องจากพร่องความรู้ในเรื่องของพฤติกรรมในขณะที่ตั้งครรภ์
การวางแผนการพยาบาล
-อธิบายและให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์ ว่าสิ่งไหนควรท าหรือไม่ สิ่งไหนควรทานหรือไม่ โดยเคารพ
ในความเชื่อของแต่ละบุคคล
การปฏิบัติการพยาบาล
ลดโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคโดยกำเนิด
การประยุกต์ใช้ในการดูแลผู้ป่ วย
ระดับที่ 1
ปัจจัยด้านเทคโนโลยี
ปัจจัยซึ่งมีอิทธิพล การแสดงออกแบบแผนและการปฏิบัติการดูแลภาวะสุขภาพและความเป็นอยู่ ความเชื่อของคนไทยมอิทธิพลต่อการใช้ชีวิตและความเป็นอยู่ในชีวิตประจ้าวัน คนไทยมีความเชื่อในเรื่องของโชคลาภ คนไทยมักหาฤกษ์ยามดีทุกครั้งเมื่อมีงานส้าคัญ เช่น การคลอดบุตรคนไทยมักจะหาวันและเวลาคลอดบุตรเพื่อความสิริมงคล
ปัจจัยด้านศาสนา และปรัชญา
ให้การพยาบาลโดยเคารพในความเชื่อและวัฒนธรรมของผู้ป่วยซึ่งผู้ป่วยแต่ละคนก็มีความเชื่อและวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
ออกไปและอนุญาตให้ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตามความเชื่อทางศาสนาที่ผู้ป่วยนับถือได้แต่ต้องค้านึงค้านึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วย
ปัจจัยด้านเครือญาติและสังคม
ให้ความรู้กับบุคคลในครอบครัวหรือคนในชุมชนถึงแนวทางการดูแลสุขภาพและการรักษาโรค ด้วยการให้คนในชุมชน
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาพและวิถีชีวิตเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพที่ดีขึ้น
ค่านิยมเชิงวัฒนธรรมและวิถีชีวิต ภาษา บริบทด้านสิ่งแวดล้อม
ประเทศไทยมีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและภาษา การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมมีความแตกต่างกันด้านภาษาดังนั้นการ
รักษาการพยาบาลจึงจ้าเป็นต้องมีความรู้ในเรื่องของภาษาสากลหรือต้องมีล่ามแปลภาษาเพื่อท้าให้การรักษามีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ปัจจัยทางเศรษฐกิจ
ปัจจุบันโครงสร้างทางเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นแบบผสมอุตสาหกรรมและการเกษตร การรักษาพยาบาลจึงต้องมีความ
สอดคล้องกับเศรษฐกิจในปัจจุบันและต้องหาแนวทางป้องกันไม่ให้มีผู้ป่วยที่เกิดจากการท้างานมากยิ่งขึ้น
ปัจจัยด้านการศึกษา
ผู้ป่วยแต่ละคนมีการรับรู้และการดูแลสุขภาพที่แตกต่างกันออกไป ในการรักษาพยาบาลซึ่งควรอธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจในวิธีการดูแล
รักษาสุขภาพและทราบถึงแผนการรักษาพยาบาล โดยต้องเคารพในความเชื่อและวัฒนธรรมของผู้ป่วย
ระดับที่ 2
บุคคล
ประเทศไทยโดยเฉพาะในเมืองหลวงมีวิถีชีวิตที่เร่งรีบ และแออัดท้าให้คนส่วนใหญ่ไม่ทันได้ระมัดระวังเชื้อโรคที่สามารถติดต่อ
จากคนสู่คนได้ ดังนั้นการพยาบาลจึงต้องมีการให้ค้าแนะน้าแก่ผู้ป่วยในเรื่องการป้องกันตนเองในการสัมผัสใกล้ผู้อื่น
ครอบครัว
ในวิถีชีวิครอบครัวของคนไทยนั้นส่วนมากจะเป็นครอบครัวที่มีความสนิทสนมและมีความปรองดองกัน เพราะฉะนั้นในพื้นฐานทางครอบครัวของคนไทยแล้ว ท้าให้มีการเข้าถึงกันง่ายมากยิ่งขึ้นอาจจะท้าให้มีการพบปะกัน ทานอาหารร่วมกัน และอาจจะไม่ได้ค้านึงถึงเชื้อโรคที่ผู้อื่นจะน้ามาแพร่หรือเชื้อโรคที่มีอยู่ในตัวเราไปแพร่ผู้อื่น ดังนั้นการรักษาพยาบาลจึงต้องมีความสอดคล้องกับการใช้ชีวิตของคนไทยและมีการให้ค้าแนะน้าแก่ผู้ป่วย
กลุ่มบุคคล
กลุ่มบุคคลของคนไทยจะมีความแตกต่างกันไป ดังนั้นในการพยาบาลที่ให้การรักษาแก่ผู้ป่วยจะต้องมีความรู้ในเรื่องกลุ่มของบุคคลนั้น ๆ เช่น การท้างานในโรงงานอุสาหกรรมมีความเสี่ยงอย่างไร พยาบาลควรที่จะมีความรู้และใหการแนะน้าแก่ผู้ป่วยในเรื่องการดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง
ชุมชน
ประเทศไทยส่วนใหญ่อาศัยและมีส่วนร่วมกันภายในชุมชน ซึ่งแต่ละชุมชนมีอาสาสมัครสาธารณสุขเกือบทุกชุมชน ซึ่งท้าให้มีการเข้าถึงการดูแลสุขภาพของตนในชุมชนได้ และสามารถแจ้งข่าวสารเกี่ยวกับสุขภาพให้คนในชุมชนับรู้ได้
สถาบันในระบบบริการ
ประเทศไทยมีสิทธิการรักษาพยาบาลจากรัฐบาล โดยสิทธิการรักษาพยาบาลมี 3 ระบบใหญ่ คือ สิทธิสวัสดิการการรักษาพยาบาลของข้าราชการ สิทธิประกันสังคมและสิทธิหลักประกันสุขภาพ 30บาท ท้าให้สามารถเข้าถึงการรักษาพยาบาลได้
ระดับที่ 3
ระบบของกลุ่มคน
ประเทศไทยในส่วนใหญ่จะมีการดูแลแบบพื้นบ้าน คือการดูแลสุขภาพตามความเชื่อในชุมชนของตน เช่น ความเชื่อเรื่องห้ามกินกล้วย
น้้าว้า ซึ่งคนโบราณเชื่อว่าการกินกล้วยน้้าว้าจะท้าให้คนท้องคลอดลูกยาก เพราะการกินกล้วยน้้าว้าอาจจะท้าให้เด็กตัวใหญ่ได
การพยาบาล
เป็นการให้การพยาบาลตามความเชื่อของหญิงตั้งครรภ์ ที่ปฏิบัติตัวตามความเชื่อของตน ซึ่งความเชื่อบางอย่าง อาจจะส่งทั้งผลดีและผลเสียต่อมารดาและเด็ก อย่างเช่น สิ่งเหล่านี้อาจส่งผลเสียตามความเชื่อของผู้ป่วยได้ เช่น การห้ามกินกล้วยน้้าว้า ห้ามกินเฉาก๊วย ห้ามกินผักจ้าพวกเครือ-เกา หรือความเชื่อเรื่องการปลูกต้นไม้ อาจจะส่งผลดีต่อผู้ป่วยในเรื่องของ การปลูกต้นไม้มงคล จะให้สิ่งที่ดีและสุขภาพทแข็งแรงแก่ครอบครัวเมื่อได้ปลูกในบริเวณบ้านของตนเอง
ระบบวิชาชีพ
บุคลกรทางการแพทย์ได้มีการมองเห็นถึงความส้าคัญของการรักษาผู้ป่วยตามความเชื่อและวัฒนธรรมของผู้ป่วย ซึ่งบุคลกรทางการแพทย์จะต้องศึกษาให้มีความรู้ ความเข้าใจในความเชื่อแลวัฒนธรรมของผู้ป่วยได้อย่างชัดเจน ดังนั้นจึงท้าให้การให้การพยาบาลมีประสิทธิภาพ และมีการเขช้าถึงบุคคลได้ทุกเชื้อชาติ เพื่อที่จะให้ประชาชนได้รับการรักษา และการให้การพยาบาลอย่างมีประสิทธิภาพ และไม่เกิดความกังวลในผู้ป่วยอีกด้วย
ระดับที่ 4
การด้ารงไว้ซึ่งการดูแลด้านวัฒนธรรมของคนไทย และสืบต่อให้คนรุ่นหลัง ในปัจจุบัน ในด้านการแพทย์มีความก้าวไกลเป็นอย่างมาก อาจจะเนื่องจากปัจจุบันมีทุกเชื้อชาติที่เข้ามารับการรักษาในโรงพยาบาล
จึงเกิดการมองเห็นความส้าคัญของการให้การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นเหตุผลที่ท้าให้วงการแพทย์การขยายตัวให้กว้างและเข้าถึงทุกกลุ่มคน ทุกเชื้อชาติ ศาสนา อีกทั้งยังมีการพัฒนาทั้งองค์กร และบุคลกร เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการให้การพยาบาลมายิ่งขึ้น