Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
LMS (Learning Management System ) - Coggle Diagram
LMS
(Learning Management System )
ความหมาย
LMS เป็นคำที่ย่อมาจาก Learning Management System หรือระบบการจัดการเรียนรู้ เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่บริหารจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ จะประกอบด้วยเครื่องมืออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้สอน ผู้เรียน ผู้ดูแลระบบ โดยที่ผู้สอนนำเนื้อหาและสื่อการสอนขึ้นเว็บไซต์รายวิชาตามที่ได้ขอให้ระบบ จัดไว้ให้ได้โดยสะดวก ผู้เรียนเข้าถึงเนื้อหา กิจกรรมต่าง ๆ ได้โดยผ่านเว็บ
หลักการ
หลักการพื้นฐานของการจัดการเรียนการสอนกับการเรียนการสอนผ่านเว็บ
1.ในการจัดการเรียนการสอนโดยทั่วไปแล้ว ควรส่งเสริมให้ผู้เรียนและผู้สอนสามารถติดต่อ สื่อสารกันได้ตลอดเวลา
การจัดการเรียนการสอนควรสนับสนุนให้มีการพัฒนาความร่วมมือระหว่างผู้เรียน ความร่วมมือระหว่างกลุ่มผู้เรียนจะช่วยพัฒนาความคิดความเข้าใจได้ดีกว่าการทำงานคนเดียว
3.ควรสนับสนุนให้ผู้เรียนรู้จักแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง (Active Learners) หลีกเลี่ยงการกำกับให้ผู้สอนเป็นผู้ป้อนข้อมูลหรือคำตอบ ผู้เรียนควรเป็นผู้ขวนขวายใฝ่หาข้อมูลองค์ความรู้ต่าง ๆ เองโดยการแนะนำของ ผู้สอน
4.การให้ผลย้อนกลับแก่ผู้เรียนโดยทันทีทันใดช่วยให้ผู้เรียนได้ทราบถึงความสามารถของตน
5.ควรสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนที่ไม่มีขีดจำกัด
แนวคิดทฤษฎี
แนวคิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
การมีอิสระส่วนตัว (Personal Autonomy)
การคำเนินการเรียนตัวขตนเอง (Self-Management in e- Learning)
การควบคุมการเรีขนด้วยตนเอง (Leamer-Control of Instruction)
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบนำตนเอง
การเรียนรู้แบบนำตนเอง (Self-Directed Learning) เป็นวิธีการหนึ่งที่ใช้สอนในระดับอุดมศึกษาได้มีจุดมุ่งหมาขหลัก คือให้ผู้เรียนได้ศึกยาค้นคว้าเพิ่มเติมอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าผู้เรียนจะจบการศึกษไปแล้วก็ตาม ซึ่งถือว่าเป็นการเอื้อต่อการพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
แนวคิดของการเรียนแบบผสมผสาน
1) แนวคิดผสมผสานเทคโนโลยีการเรียนการสอนบนเว็บกับการเรียนในชั้นเรียนแบบดั้งเดิม
2) แนวคิดการผสมผสานวิธีสอนที่หลากหลายเข้าด้วยกัน
3) แนวคิดการผสมผสานเทคโนโลยีการเรียนการสอนทุกรูปแบบกับการเรียนการสอนในชั้นเรียน แบบดั้งเดิมที่มีการเผชิญหน้าระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน
4) แนวคิดการผสมผสานเทคโนโลยีการเรียนการสอนกับการทํางานจริง
รูปแบบ
ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ที่อยู่ในรูปแบบเชิงพาณิชย์ ( Proprietary Software )
ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้แบบที่มีการพัฒนาโดยบุคลากรในองค์กร
ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้แบบที่มีการพัฒนาเพื่อเชิงพาณิชย์โดยตรง
ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ที่อยู่ในรูปแบบฟรีซอฟต์แวร์ ( Free Software )
องค์ประกอบของการเรียนการสอนบนเครือข่าย
ระบบจัดการหลักสูตร (Course Management)
ระบบการสร้างบทเรียน (Content Management)
ระบบการทดสอบและประเมินผล (Test and Evaluation System)
ระบบส่งเสริมการเรียน (Course Tools)
ระบบจัดการข้อมูล (Data Management System)
การออกแบบการเรียนการสอน
การพิจารณาหลักการในการออกแบบการเรียนการสอน คือ
การออกแบบและพัฒนาการเรียนการสอนนี้เพื่อใคร
ต้องการให้ผู้เรียนเรียนอะไร
ผู้เรียนจะเรียนรู้เนื้อหาวิชานั้น ๆ ได้ดีที่สุดอย่างไร
เมื่อผู้เรียนเข้าสู่กระบวนการเรียน จะทราบได้อย่างไรว่าผู้เรียนมีการเรียนรู้เกิดขึ้น และประสบผลสำเร็จในการเรียนรู้
ADDIE Model
ADDIE Model
การวิเคราะห์
ออกแบบ
พัฒนา
นำไปใช้
ประเมิน
การออกเเบบเนื้อหา
วางโครงสร้างของเนื้อหา
คัดเลือกเนื้อหาที่จะนำเสนอ
เรียงลำดับหัวข้อเนื้อหา
ใช้ภาษาให้เหมาะสม
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
จัดทำโดย
วชรพร สีหะ คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร ปีการศึกษา 2561
ชื่องานวิจัย
การประยุกต์ใช้ LMร ในกระบวนการเรียนการสอนกรณีศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) Application of Learning Management System in the teaching processCase Study: Eastern Technological College (E-TECH)
สรุปผล
LMS มาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มช่องทางในการเข้าถึงเนื้อหาบทเรียน ได้จากอุปกรณ์แบบมีสายและแบบไร้สาย เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์แบบพกพา ผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์ เพิ่มประสิทธิภาพ ในด้านการเรียนการสอนมากยิ่งขึ้น เพื่อลดระยะเวลาในการบรรยายให้ห้องเรียนของผู้สอน และลดระยะเวลาในการเรียนในห้องเรียนของผู้เรียน
ข้อดีและข้อเสีย
ข้อดี
1.ระบบจัดการเรียนรู้ในปัจจุบัน ครอบคลุมเครื่องมือที่หลากหลายขึ้นมาก
รายการของเครื่องมือบนระบบการจัดการการเรียนการสอน ครอบคลุมตั้งแต่เครื่องมือสำหรับการจัดระบบที่ไม่สลับซับซ้อน
การพัฒนาระบบการจัดการการเรียนการสอนในปัจจุบันยังครอบคลุมในด้านของคุณภาพของเครื่องมือบางประเภท
การเรียนการสอนส่วนใหญ่ในขณะนี้สามารถนำไปเชื่อมต่อกับระบบอื่นๆ
การเรียนการสอนส่วนใหญ่ในขณะนี้สามารถนำไปเชื่อมต่อกับระบบอื่นๆ
ข้อเสีย
เครื่องมือที่ได้รับการพัฒนามาแล้วยังไม่สามารถสนับสนุนการจัดการเรียนรู้เป็นไปตามหลักทางครุศาสตร์
2.ทางด้านการจัดการเรียนการสอน ยังไม่ยืดหยุ่นพอสำหรับความต้องการในการออกแบบการเรียนของผู้สอนในสมัยใหม่ส่งผลต่อความน่าเบื่อของการเรียนในลักษณะ e-Learning
การบริหารจัดการและการประยุกต์ระบบบริหารจักการเรียนการสอนบนระบบเครือข่าย
ปัจจุบันการเรียนการสอนได้มีการพัฒนา E-Learning มาใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยมีการสร้าง Software การบริหารจัดการการเรียนการสอนในรูปแบบ E-Learning ขึ้นมากมายทั้งที่เป็น Open Source หรือเป็น software ที่มีลิขสิทธิ์ ต่างๆ ซึ่งในการพัฒนาระบบ E-Learning ในปัจจุบัน ได้นำ“ระบบบริหารจัดการเรียนการสอนที่เรียกว่าระบบแอลเอ็มเอส (LMS)” หรือซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่บริหารจัดการเรียนการสอนผ่านทางเว็บไซต์ ดังนั้น การนำระบบแอลเอ็มเอส (LMS) มาประยุกต์ใช้จะทำให้เกิดคุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพ ในด้านการเรียนการสอนมากยิ่งขึ้น