Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่11การรับผู้ป่วยใหม่และการจำหน่ายผู้ป่วย ออกจากโรงพยาบาล - Coggle…
บทที่11การรับผู้ป่วยใหม่และการจำหน่ายผู้ป่วย ออกจากโรงพยาบาล
ชนิดของการรับผู้ป่วยใหม่
ผู้ป่วยใน
การรับแบบฉุกเฉิน (Emergency admission)เป็นการนอนพักรักษาในโรงพยาบาลแบบไม่ได้วางแผนไว้
ผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บหน้าอก ได้รับอุบัติเหตุที่รุนแรง
การรับโดยตรง (Direct admission) เป็นการนอนพักรักษาในโรงพยาบาลแบบไม่ได้วางแผนไว้ ไม่ได้ตรวจที่แผนกฉุกเฉิน
ผู้ป่วยที่มีไข้สูงเป็นเวลานาน มีอาการปวดอย่างทรมาน ท้องเสีย
วางแผนเป็นผู้ป่วยในหรือกรณีไม่เร่งด่วน (Planned or Non-urgent)หรือเป็นผู้ป่วยในตามปกติ
เป็นการรับแบบที่มีการจัดตารางนอนผู้ป่วยไว้ล่วงหน้า
ผู้ป่วยนอก
ระยะเวลาของการอยู่ในโรงพยาบาลน้อยกว่า 24ชั่วโมง
กลุ่มที่มาตรวจเป็นครั้งๆ ที่แผนกตรวจผู้ป่วยนอก
เมื่อตรวจเสร็จแล้วแพทย์อนุญาตให้กลับบ้านได้
การให้ยาเคมีบำบัดแบบเป็นครั้งๆ
หลักการพยาบาลภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรมตามประเพณีและศาสนา
การพยาบาลภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรมตามประเพณี และศาสนาของผู้ป่วย
ศาสนาอิสลาม ใช้น้ำผสมการบูรหรือใบพุทราอาบน้ำให้ศพ และใช้ผ้ากะพัน(ผ้าห่อศพ) แทนการสวมเสื้อผ้า ให้ปฏิบัติต่อศพอย่างนุ่มนวลเปรียบเสมือนยังมีชีวิต
คนจีน ใช้น้ำผสมธูป ยอดทับทิมและใบเซียงเช่า เช็ดตัวศพเพื่อให้วิญญาณขึ้นสู่สวรรค์ และสวมเสื้อผ้าสวยงามพร้อมทั้งหมวกและรองเท้าให้กับผู้ตาย
ประเพณีไทย การอาบน้ำแต่งตัวศพหลังจากตายแล้ว
หลักปฏิบัติทางกฎหมายและระเบียบของโรงพยาบาล
นำใบมรณะบัตรไปแจ้งที่วัดเพื่อเผาศพ
ในกรณีขอเคลื่อนย้ายศพออกจากเขตหรือข้ามจังหวัด ให้นำใบมรณะบัตรไปแจ้งเทศบาลหรือที่ว่าการเขต
นำใบรายงานของแพทย์ไปแจ้งเทศบาลหรือที่ว่าการเขตท้องถิ่นที่ที่บ้านตั้งอยู่เพื่อแก้ไขทะเบียนบ้านภายใน 24 ชั่วโมง และขอใบมรณะบัตร
ผู้ตายไม่สามารถทำนิติกรรมใดๆ ได้อีกต่อไป
นำหลักฐานต่างๆ เช่น บัตรประชาชน บัตรข้าราชการ สำเนาทะเบียนบ้านของผู้ตายเป็นต้น มายื่นให้กับเจ้าหน้าที่ในหอผู้ป่วย
การพยาบาลภายหลังถึงแก่กรรม
วัตถุประสงค์ของการแต่งศพ
ดูแลจัดเก็บของใช้ ของต้องทิ้งหรือทำลายได้ถูกต้อง
ประสานงานหน่วยงานหรือบุคลากรที่เกี่ยวข้องได้ถูกต้อง
ดูแลจัดการตามข้อกฎหมาย กฎระเบียบของโรงพยาบาลและขนบธรรมเนียม
เขียนบันทึกรายงานที่เกี่ยวข้องได้ถูกต้อง
เตรียมศพให้สะอาด เรียบร้อยพร้อมย้ายไปยังห้องศพ
ขั้นตอนการแต่งศพ
จัดศพให้นอนหงายดูคล้ายคนนอนหลับ ปิดปากและตาทั้ง2 ข้างให้สนิท
ใช้สำลีหรือก๊อซอุดอวัยวะต่างๆ ที่มีน้ำคัดหลั่ง เช็ดตัวให้สะอาด ใส่เสื้อผ้าชุดใหม่
สวมถุงมือ ถ้ามีฟันปลอม ตาปลอมต้องรีบใส่ ถ้ามีแผลต้องตกแต่งแผลให้เรียบร้อย
ผูกป้ายชื่อที่ข้อมือ คลุมผ้าจากปลายเท้าถึงระดับไหล่
เก็บอุปกรณ์การรักษาพยาบาลทุกชนิดออกจากศพ
ถอดถุงมือ ล้างมือให้สะอาด
ล้างมือก่อนจัดเตรียมของใช้ เตรียมอุปกรณ์ จัดสถานที่และสิ่งแวดล้อม
ให้ศพอยู่ในหอผู้ป่วยประมาณ 2 ชั่วโมง จึงเคลื่อนย้ายศพไปห้องเก็บศพ พร้อมใบส่งศพ
อธิบายให้ญาติผู้ป่วยเข้าใจเมื่อผู้ป่วยเสียชีวิต
การแต่งศพ
คือ การดูแลศพให้เรียบร้อยพร้อมเคลื่อนย้ายไปยังห้องศพ การแต่งศพจะต้องคำนึงถึงขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของผู้ตาย
บทบาทพยาบาลในการจำหน่วยผู้ป่วยโดยใช้หลัก D-METHOD
วางแผนการจำหน่ายแบบ D-METHOD
E = Environment & Economic
กระตุ้นให้ผู้ป่วย/ครอบครัว/ ผู้ดูแลเห็นความสำคัญของการใช้สถานบริการสุขภาพในชุมชน
T = Treatment
แนะนำผู้ป่วย/ครอบครัว/ ผู้ดูแลให้เข้าใจเป้าหมายการรักษา แนะนำให้ปฏิบัติกิจกรรมการรักษา
M=Medication
ให้ความรู้เกี่ยวกับยาที่ต้องรับประทานอย่างต่อเนื่องที่บ้าน
H=Health
ให้ความรู้เกี่ยวกับข้อจ ากัดในการท ากิจกรรมให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพ
D=Diagnosis
ให้ความรู้เรื่องโรคที่เป็นอยู่ เกี่ยวกับสาเหตุ อาการ การปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง
O=Outpatient referral
ชี้แจงให้ผู้ป่วย/ครอบครัว/ ผู้ดูแล ตระหนักและเข้าใจถึงความสำคัญของการมาตรวจตามนัดและอาการผิดปกติที่ต้องมาก่อนนัด
D = Diet
ให้ความรู้เรื่องอาหารเฉพาะโรค หลีกเลี่ยงหรืองดอาหารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
วัตถุประสงค์และขั้นตอนการรับผู้ป่วยใหม่
การเตรียมอุปกรณ์
อุปกรณ์ที่จำเป็นตามความเหมาะสมสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย
เครื่องมือตรวจสัญญาณชีพ น้ำหนักและส่วนสูง
เอกสารรายงานการรับผู้ป่วยใหม่หรือแบบบันทึกต่างๆ ซึ่งจะแตกต่างกันในแต่ละโรงพยาบาล เช่น แบบตรวจสอบการเข้าพักรักษาในโรงพยาบาล แบบบันทึกต่างๆ สำหรับจัดทำแฟ้มผู้ป่วย แบบบันทึกคาร์เดกซ์
สมุดบันทึกการรับใหม่
เตรียมเตียงหรือห้องพักผู้ป่วยให้พร้อมเพื่อต้อนรับการพักรักษาตัวของผู้ป่วย
เครื่องใช้ส่วนตัว บางโรงพยาบาลอาจมีเตรียมไว้ให้สำหรับผู้ป่วย กรณีไม่มีให้อาจแจ้งให้ผู้ป่วยหรือญาติเตรียมมาให้พร้อม
ขั้นตอนการปฏิบัติ
อธิบายกิจกรรมการรักษาพยาบาลที่จะให้ผู้ป่วย
ให้ผู้ป่วยหรือญาติที่มีสิทธิตามกฎหมายเซ็นอนุญาตหรือยินยอม เข้ารับการตรวจ รักษา
วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต
เก็บรวบรวมข้อมูลผู้ป่วย โดยการสัมภาษณ์ผู้ป่วยและญาติ การตรวจร่างกาย
นำผู้ป่วยไปที่เตียง แนะนำให้รู้จักผู้ป่วยอื่นที่อยู่ร่วมห้อง
ให้ความช่วยเหลือหรือให้คำแนะนำในการอาบน้ำแรกรับเข้ารักษาในโรงพยาบาล เปลี่ยนใช้เสื้อผ้าของโรงพยาบาล
ชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูง ตามสภาพอาการของผู้ป่วย
เบิกอาหารให้ผู้ป่วยที่เหมาะสมกับโรค
ตรวจสอบชื่อ นามสกุลของผู้ป่วย การลงทะเบียนรับเป็นผู้ป่วยใน และลายเซ็น
นำป้ายข้อมือติดที่ข้อมือผู้ป่วยติดป้ายหน้าเตียง
สร้างสัมพันธภาพ ให้การต้อนรับผู้ป่วยและญาติด้วยถ้อยคำ สีหน้า แววตา กิริยาท่าทางที่เป็นมิตร
แจ้งแพทย์เจ้าของผู้ป่วยหรือแพทย์ประจำหอผู้ป่วยรับทราบการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลของผู้ป่วย
เตรียมสิ่งแวดล้อมเพื่อรับผู้ป่วยใหม่โดย นำเหยือกน้ำ แก้วน้ำ กระโถน ปรอทวัดไข้ เครื่องวัดความดันโลหิต หูฟัง และอุปกรณ์อื่นๆ ที่จำเป็นสำหรับผู้ป่วยเฉพาะราย
ลงทะเบียนรับผู้ป่วยใหม่ จัดทำแฟ้มประวัติ (Chart)ตรวจรับแผนการรักษา
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยได้รับการประเมินปัญหาและความต้องการทางร่างกาย และจิตสังคมได้ถูกต้อง
ผู้ป่วยและญาติคลายความวิตกกังวล เต็มใจและให้ความร่วมมือในการรักษาพยาบาล
ผู้ป่วยมีเครื่องใช้ที่จำเป็นในการรักษาพยาบาล เหมาะสม ครบถ้วน
ผู้ป่วยมีความปลอดภัยและสุขสบายเพิ่มขึ้น
ผู้ป่วยและญาติมีความรู้และปฏิบัติตามกฎระเบียบและกิจวัตรของโรงพยาบาลได้อย่างถูกต้อง
ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง เหมาะสมกับสภาพความเจ็บป่วย
การรับแผนการรักษา
วัตถุประสงค์
เพื่อถ่ายทอดแผนการรักษาไปสู่การปฏิบัติได้อย่างถูกต้องครบถ้วน
อุปกรณ์
แผ่นคำสั่งการรักษา ใบรับคำสั่งแผนการรักษา ใบบันทึกการให้ยา ป้ายสำหรับติดขวดสารละลาย ปากกา
วิธีการรับแผนการรักษา
กรอกรายละเอียดแผนการรักษาในใบรับคำสั่งแผนการรักษา
หากมีคำสั่งแผนการรักษาให้สารละลายทางหลอดเลือดดำให้เขียนป้ายสำหรับติดขวดสารละลายตามจำนวนที่แพทย์กำหนด
อ่านแผนการรักษาทั้งเฉพาะวันและตลอดไปให้เข้าใจโดยตลอด
ปฏิบัติตามแผนการรักษา
การส่งเสริมการปรับตัวของผู้ป่วยที่อยู่ในโรงพยาบาล
ควรจะพูดคุยกับผู้ป่วยโดยการซักถามถึงประสบการณ์ในอดีตในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับโรงพยาบาล เพื่อนำข้อมูลที่ได้มามาใช้ในการวางแผนการให้การพยาบาลต่อไปได้ดียิ่งขึ้น
ไม่ควรเรียกผู้ป่วยโดยใช้หมายเลขเตียง และควรมีคำลงท้ายที่เหมาะสมโดยเฉพาะผู้ป่วยเป็นผู้ใหญ่
ช่วยลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยได้โดยบอกให้ผู้ป่วยทราบถึงโรคที่ผู้ป่วยเป็นอยู่ การพยากรณ์โรคและการรักษา
หากผู้ป่วยมีความเชื่อที่แปลกไปแต่ไม่ทำให้เกิดอันตรายพยาบาลควรยอมรับไม่แสดงความดูถูกหรือหัวเราะเยาะ
ช่วยผู้ป่วยปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลง โดยการอธิบายและแนะนำถึงข้อปฏิบัติตัวต่างๆ ที่ผู้ป่วยต้องการทราบและให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์ต่อตัวผู้ป่วย
สังเกตและการซักถามต่างๆ โดยวางแผนการพยาบาลตั้งแต่ผู้ป่วยเริ่มเข้ามาอยู่ในโรงพยาบาล
ข้อบ่งชี้ และการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของผู้ป่วยถึงแก่กรรม
Livor mortis เมื่อการไหลเวียนเลือดหยุด ผิวหนังจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงคล้ำๆ (Bluish purple) ตามบริเวณส่วนล่างของร่างกาย
Rigor mortisคือการแข็งทื่อของร่างกายหลังเสียชีวิต ประมาณ 2-4 ชั่วโมง
Algor mortis อุณหภูมิของร่างกายลดลง 1◦C(1.8◦F) ต่อชั่วโมงจนเท่าอุณหภูมิห้อง
สาเหตุและอุปกรณ์การจำหน่ายผู้ป่วย
อุปกรณ์
บัตรประจำตัวของโรงพยาบาล
ใบนัด
เสื้อผ้าผู้ป่วย
ใบสั่งยา
สมุดจำหน่ายผู้ป่วย
สำลี ก๊อซบัตรติดข้อมือศพ
รายงานผู้ป่วยทั้งหมด
ขั้นตอน
การจำหน่ายผู้ป่วยกรณีแพทย์อนุญาตให้กลับบ้าน
ให้ใบนัด พร้อมบัตรประจำตัวของผู้ป่วยพร้อมทั้งให้คำแนะนำในเรื่องความสำคัญของการมาตรวจตามนัด
นำเสื้อผ้าและของมีค่าคืนให้ผู้ป่วยพร้อมทั้งช่วยแต่งกาย
แนะนำผู้ป่วยให้สอดคล้องกับสภาพความเจ็บป่วยทั้งด้านร่างกาย
เตรียมล้อเข็น หรือเปลนอนในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
ให้ญาติผู้ป่วยไปซื้อยาตามใบสั่งยา ในกรณีที่ต้นสังกัดของหน่วยงานหรือโรงพยาบาลเบิกยาก่อนกลับบ้านไว้
ลงสมุดจำหน่ายผู้ป่วย
แจ้งผู้ป่วยและญาติให้ทราบ พร้อมทั้งแจ้งค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล สังเกตสีหน้าท่าทีของผู้ป่วยและญาติ
เก็บอุปกรณ์ ทำความสะอาด
ตรวจสอบแผนการรักษาของแพทย์ เกี่ยวกับการจำหน่ายผู้ป่วย
การจำหน่ายผู้ป่วยเมื่อถึงแก่กรรม
ใส่อวัยวะปลอม
ผูกบัตรแข็งประจำตัวของโรงพยาบาลไว้ที่ข้อมือข้างหนึ่ง
จัดท่าให้เร็วที่สุด โดยให้นอนหงาย จัดแขน ขาให้ตรงอยู่ในท่าที่สบาย
ภายหลังศพอยู่ในหอผู้ป่วยอย่างน้อย 2 ชั่วโมงตามเจ้าหน้าที่มารับศพ
ใช้มือลูบหนังตาผู้ป่วยให้ปิดลงเมื่อแพทย์ลงความเห็นว่าเสียชีวิตแล้ว
รวบรวมรายงานลงสมุดจ าหน่าย
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ถึงแก่กรรมได้รับการปฏิบัติอย่างถูกต้องตามขนบธรรมเนียม และความเชื่อทางศาสนา
เพื่อให้ผู้ถึงแก่กรรมมีร่างกายสะอาด อยู่ในสภาพที่ดีที่สุด อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สงบเรียบร้อย
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง
เพื่อได้รับการปฏิบัติที่ถูกต้องตามขั้นตอนของกฎหมาย
เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้องเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ประเภท
การจำหน่ายเนื่องจากผู้ป่วยหนีกลับ
การจำหน่ายเนื่องจากผู้ป่วยถึงแก่กรรม
การจำหน่ายโดย ไม่สมัครอยู่พยาบาลจะต้องอธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบว่า ถ้ามีอะไรเกิดขึ้นกับผู้ป่วย แพทย์จะไม่รับผิดชอบใดๆ ทั้งสิ้น
การจำหน่ายผู้ป่วยเนื่องจากมีการส่งต่อให้ไปรับการดูแลรักษายังสถานบริการสุขภาพอื่น
การจำหน่ายผู้ป่วยเมื่อมีอาการทุเลาลงจากภาวะที่อันตราย