Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรับผู้ป่วยใหม่และการจำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล - Coggle Diagram
การรับผู้ป่วยใหม่และการจำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล
11.1 ชนิดของการรับผู้ป่วยใหม่
11.1.1 ผู้ป่วยใน (Inpatient
) ระยะเวลาของการนอนพักรักษาในโรงพยาบาลมากกว่า 24 ชั่วโมง
1) วางแผนเป็นผู้ป่วยในหรือกรณีไม่เร่งด่วน (Planned or Non-urgent) หรือเป็นผู้ป่วยในตามปกติ
2) การรับแบบฉุกเฉิน (Emergency admission) เป็นการนอนพักรักษา ในโรงพยาบาลแบบไม่ได้วางแผนไว้
3) การรับโดยตรง (Direct admission) เป็นการนอนพักรักษาในโรงพยาบาลแบบไม่ได้วางแผนไว้ไม่ได้ตรวจที่แผนกฉุกเฉิน อาจตรวจที่แผนกตรวจผู้ป่วยนอก
11.1.2 ผู้ป่วยนอก (Outpatient)
ระยะเวลาของการอยู่ในโรงพยาบาลน้อยกว่า 24 ชั่วโมง เช่น กลุ่มที่มาตรวจเป็นครั้งๆ
เช่น ผู้ป่วยที่ศีรษะได้รับบาดเจ็บ มีสัญญาณชีพที่ผิดปกติ
11.2 หลักการส่งเสริมการปรับตัวของผู้ป่วยที่อยู่ในโรงพยาบาล
เกิดความวิตกกังวล ซึ่งอาจเกิดจากการเจ็บป่วยของตนเอง ความเจ็บปวด ความกลัวที่จะต้องสูญเสียอวัยวะ กลัวรักษาไม่หาย
เพื่อให้การช่วยเหลือส่งเสริมการปรับตัวของผู้ป่วยที่อยู่ในโรงพยาบาล ได้แก่
11.2.1 ความแปลกใหม่ต่อสถานที่ สิ่งแวดล้อม บุคลากรทางการแพทย์ และเจ้าหน้าที่ต่างๆของโรงพยาบาล และการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน รวมถึงข้อระเบียบปฏิบัติต่างๆ ของโรงพยาบาล
11.2.2 ความกังวลต่อความเจ็บป่วย พยาบาลช่วยลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยได้โดยบอกให้ผู้ป่วยทราบถึงโรคที่ผู้ป่วยเป็นอยู่
11.2.3 ประสบการณ์ในอดีตมีความสาคัญต่อการแสดงออกของผู้ป่วย พยาบาลควรจะพูดคุยกับผู้ป่วยโดยการซักถามถึงประสบการณ์ในอดีตในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับโรงพยาบาล
11.2.4 การคานึงถึงความเป็นบุคคลของผู้ป่วย พยาบาลจะต้องให้เกียรติผู้ป่วยตาม ความเหมาะสม
ไม่ควรเรียกผู้ป่วยโดยใช้หมายเลขเตียง
ควรมีคำลงท้ายที่เหมาะสมโดยเฉพาะผู้ป่วยเป็นผู้ใหญ่
11.2.5 ความเชื่อและพฤติกรรมต่างๆ เป็นของผู้ป่วย เนื่องจากผู้ป่วยแต่ละคนมีความแตกต่างในด้านนิสัยและการแสดงพฤติกรรมพยาบาลควรยอมรับไม่แสดงความดูถูก หรือหัวเราะเยาะ ควรให้ความเคารพในสิทธิส่วนบุคคลของผู้ป่วย
11.2.6 การวางแผนให้การพยาบาลโดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากการสังเกตและการซักถามต่างๆ โดยวางแผนการพยาบาลตั้งแต่ผู้ป่วยเริ่มเข้ามาอยู่ในโรงพยาบาล
11.3 วัตถุประสงค์และขั้นตอนการรับผู้ป่วยใหม่
11.3.1 วัตถุประสงค์
1) ผู้ป่วยและญาติมีความรู้และปฏิบัติตามกฎระเบียบและกิจวัตรของโรงพยาบาล ได้อย่างถูกต้อง
2) ผู้ป่วยมีเครื่องใช้ที่จาเป็นในการรักษาพยาบาล เหมาะสม ครบถ้วน
3) ผู้ป่วยได้รับการประเมินปัญหาและความต้องการทางร่างกาย และจิตสังคม
4) ผู้ป่วยและญาติคลายความวิตกกังวล เต็มใจและให้ความร่วมมือใน การรักษาพยาบาล
5) ผู้ป่วยมีความปลอดภัยและสุขสบายเพิ่มขึ้น
11.3.2 การเตรียมอุปกรณ์
เมื่อได้รับแจ้งจากแผนกผู้ป่วยนอกในการรับผู้ป่วยเข้ารักษาไว้ใน
โรงพยาบาล
1) เตรียมเตียงหรือห้องพักผู้ป่วยให้พร้อมเพื่อต้อนรับการพักรักษาตัวของผู้ป่วย การที่เตรียมเตียงห
2) เอกสารรายงานการรับผู้ป่วยใหม่หรือแบบบันทึกต่างๆ
(1) แบบตรวจสอบการเข้าพักรักษาในโรงพยาบาล (Admission checklist) ในบางแห่งอาจเรียก แบบตรวจสอบการรับผู้ป่วยใหม่ (Flow sheet)
(2) แบบบันทึกต่าง ๆ สาหรับจัดทาแฟ้มผู้ป่วย ประกอบด้วย แบบบันทึกคาสั่งแผนการรักษาแพทย์
(3) แบบบันทึกคาร์เดกซ์ (Nursing kardex) ซึ่งบางสถาบันอาจไม่ใช้แล้ว เป็นเหมือนบันทึกสั้นๆ
11.3.3 ขั้นตอนการรับผู้ป่วยใหม่
1) เตรียมสิ่งแวดล้อมเพื่อรับผู้ป่วยใหม่โดย
2) สร้างสัมพันธภาพ ให้การต้อนรับผู้ป่วยและญาติด้วยถ้อยคา สีหน้า แววตา กิริยาท่าทางที่เป็นมิตร
3) ตรวจสอบชื่อ นามสกุลของผู้ป่วย
4) ชั่งน้าหนัก และวัดส่วนสูง ตามสภาพอาการของผู้ป่วย
5) นำผู้ป่วยไปที่เตียง แนะนาให้รู้จักผู้ป่วยอื่นที่อยู่ร่วมห้อง และให้นอนพักสักครู่
6) วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิตเพื่อเป็นการประเมินสภาพแรกรับไว้เป็นข้อมูลพื้นฐาน
7) อธิบายกิจกรรมการรักษาพยาบาลที่จะให้ผู้ป่วย
1
1.4 สาเหตุและอุปกรณ์การจำหน่ายผู้ป่วย
1
1.4.1 ประเภทการจาหน่ายผู้ป่วย
แบ่งออกเป็น 5 ประเภท
1) การจำหน่ายผู้ป่วยเมื่อมีอาการทุเลาลงจากภาวะที่อันตราย
2) การจำหน่ายโดย ไม่สมัครอยู่พยาบาลจะต้องอธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบว่า ถ้ามีอะไรเกิดขึ้นกับผู้ป่วย แพทย์จะไม่รับผิดชอบใดๆ ทั้งสิ้น
3) การจำหน่ายเนื่องจากผู้ป่วยหนีกลับ
4) การจาหน่าย เนื่องจากผู้ป่วยถึงแก่กรรม
5) การจาหน่ายผู้ป่วยเนื่องจากมีการส่งต่อให้ไปรับการดูแลรักษายังสถานบริการสุขภาพอื่น
11.4.2 การจำหน่ายผู้ป่วย มีวัตถุประสงค์
1) เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้องเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
2) เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง
3) เพื่อให้ผู้ถึงแก่กรรมได้รับการปฏิบัติอย่างถูกต้องตามขนบธรรมเนียม และความเชื่อทางศาสนา
4) เพื่อให้ผู้ถึงแก่กรรมมีร่างกายสะอาด อยู่ในสภาพที่ดีที่สุด อยู่ในสิ่งแวดล้อม ที่สงบเรียบร้อย
5) เพื่อได้รับการปฏิบัติที่ถูกต้องตามขั้นตอนของกฎหมาย
11.4.3 อุปกรณ์ในการจาหน่ายผู้ป่วย ประกอบด้วย
1) รายงานผู้ป่วยทั้งหมด
2) สมุดจาหน่ายผู้ป่วย
3) เสื้อผ้าผู้ป่วย
4) บัตรประจาตัวของโรงพยาบาล
5) ใบนัด
6) ใบสั่งยา
7) กรณีถึงแก่กรรมให้เตรียมเครื่องใช้ในการอาบน้า สาลี ก๊อซ บัตรติดข้อมือศพด้วย
11.4.4 ขั้นตอนจาหน่ายผู้ป่วย
1) การจำหน่ายผู้ป่วยกรณีแพทย์อนุญาตให้กลับบ้าน มีดังนี้
(1) ตรวจสอบแผนการรักษาของแพทย์ เกี่ยวกับการจาหน่ายผู้ป่วย
(2) แจ้งผู้ป่วยและญาติให้ทราบ พร้อมทั้งแจ้งค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล
(3) ให้ญาติผู้ป่วยไปซื้อยาตามใบสั่งยา
(4) แนะนาผู้ป่วยให้สอดคล้องกับสภาพความเจ็บป่วยทั้งด้านร่างกาย
(5) ให้ใบนัด พร้อมบัตรประจาตัวของผู้ป่วย พร้อมทั้งให้คาแนะนาในเรื่องความสาคัญของการมาตรวจตามนัด
(6) นาเสื้อผ้าและของมีค่าคืนให้ผู้ป่วยพร้อมทั้งช่วยแต่งกายให้เรียบร้อย
(7) เตรียมล้อเข็น หรือเปลนอนในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยตามความเหมาะสม
(8) ลงสมุดจาหน่ายผู้ป่วย ลบรายชื่อออกจากกระดานรายชื่อ
(9) เก็บอุปกรณ์ ทาความสะอาด เพื่อรอรับผู้ป่วยใหม่ต่อไป
11.5 บทบาทพยาบาลในการวางแผนจาหน่ายผู้ป่วยตามรูปแบบ D-M-E-T-H-O-D
D = Diagnosis ให้ความรู้เรื่องโรคที่เป็นอยู่ เกี่ยวกับสาเหตุ อาการ การปฏิบัติตั
M = Medication ให้ความรู้เกี่ยวกับยาที่ต้องรับประทานอย่างต่อเนื่องที่บ้าน
E = Environment & Economic กระตุ้นให้ผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล เห็นความสาคัญของการใช้สถานบริการสุขภาพในชุมชน
T = Treatment แนะนาผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล ให้เข้าใจเป้าหมายการรักษา
H = Health ให้ความรู้เกี่ยวกับข้อจากัดในการทากิจกรรมให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพ กระตุ้นให้ผู้ป่วย/ ญาติ มีส่วนร่วม
O = Outpatient referral ชี้แจงให้ผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล ตระหนักและเข้าใจถึงความสาคัญของการมาตรวจตามนัด
D= Diet ให้ความรู้เรื่องอาหารเฉพาะโรค หลีกเลี่ยงหรืองดอาหารที่เป็นอันตราย ต่อสุขภาพ แนะนาแหล่งประโยชน์หรือสถานที่ให้คาปรึกษาเมื่อมีปัญหาเรื่องอาหาร
11.6 ข้อบ่งชี้และการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรม
11.6.1 Algor mortis
อุณหภูมิของร่างกายลดลง 1◦C (1.8◦F) ต่อชั่วโมงจนเท่าอุณหภูมิห้อง เนื่องจากการไหลเวียนเลือดหยุด และ Hypothalamus หยุดทางาน
11.6.2 Livor mortis
ผิวหนังจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงคล้าๆ (Bluish purple) ตามบริเวณส่วนล่างของร่างกาย ซึ่งเป็นผลจากเม็ดเลือดแดงถูกทาลาย
11.6.3 Rigor mortis
การแข็งทื่อของร่างกายหลังเสียชีวิต ประมาณ 2-4 ชั่วโมง เกิดจากการหดเกร็งของกล้ามเนื้อโครงกระดูก และกล้ามเนื้อเรียบ เพื่อป้องกันศพผิดรูปร่าง
11.7 การพยาบาลภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรม ตามประเพณี และศาสนาของผู้ป่วย
11.7.1 การพยาบาลภายหลังถึงแก่กรรม
1) การแต่งศพ
หมายถึง การดูแลศพให้เรียบร้อยพร้อมเคลื่อนย้ายไปยังห้องศพ การแต่งศพจะต้องคานึงถึงขนบธรรมเนียม
2) วัตถุประสงค์ของการแต่งศพ มีดังนี้
(1) เตรียมศพให้สะอาด เรียบร้อยพร้อมย้ายไปยังห้องศพ
(2) ดูแลจัดการตามข้อกฎหมาย กฎระเบียบของโรงพยาบาลและขนบธรรมเนียม
ประเพณีและวัฒนธรรมเชื้อชาติ ศาสนาของผู้ตาย
(3) ดูแลจัดเก็บของใช้ ของต้องทิ้งหรือทาลายได้ถูกต้อง
(4) ประสานงานหน่วยงานหรือบุคลากรที่เกี่ยวข้องได้ถูกต้อง
(5) เขียนบันทึกรายงานที่เกี่ยวข้องได้ถูกต้อง
11.7.2 การพยาบาลภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรมตามประเพณี และศาสนาของผู้ป่วย
การปฏิบัติตามหลักศาสนาและประเพณีภายหลังถึงแก่กรรม คือ การอาบน้าแต่งตัวศพหลังจากตายแล้ว ซึ่งพิธีอาบน้าศพเป็นการทาให้ร่างกายสะอาด
สาหรับศาสนาอิสลาม ใช้น้าผสมการบูรหรือใบพุทราอาบน้าให้ศพ และใช้ผ้ากะพัน (ผ้าห่อศพ) แทนการสวมเสื้อผ้า
ในส่วนของคนจีนใช้น้าผสมธูป ยอดทับทิมและใบเซียงเช่า เช็ดตัวศพเพื่อให้วิญญาณ ขึ้นสู่สวรรค์ และสวมเสื้อผ้าสวยงามพร้อมทั้งหมวกและรองเท้าให้กับผู้ตาย
11.7.3 หลักปฏิบัติทางกฎหมายและระเบียบของโรงพยาบาล
1) นำหลักฐานต่างๆ เช่น บัตรประชาชน บัตรข้าราชการ สาเนาทะเบียนบ้านของผู้ตาย
2) นำใบรายงานของแพทย์ไปแจ้งเทศบาลหรือที่ว่าการเขตท้องถิ่นที่ที่บ้านตั้งอยู่ เพื่อแก้ไขทะเบียนบ้านภายใน 24 ชั่วโมง และขอใบมรณะบัตร
3) นำใบมรณะบัตรไปแจ้งที่วัดเพื่อเผาศพ
4) ในกรณีขอเคลื่อนย้ายศพออกจากเขตหรือข้ามจังหวัด ให้นาใบมรณะบัตรไป แจ้งเทศบาลหรือที่ว่าการเขต
5) ผู้ตายไม่สามารถทานิติกรรมใด ๆ ได้อีกต่อไป