Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรับผู้ป่วยใหม่และการจำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล - Coggle Diagram
การรับผู้ป่วยใหม่และการจำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล
ชนิดของการรับผู้ป่วยใหม่
ผู้ป่วยใน (Inpatient)
ระยะเวลานอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาลมากกว่า 24 ชม.
วางแผนเป็นผู้ป่วยในกรือกรณีไม่เร่งด่วน (Planned or Non-urgent) หรือเป็นผู้ป่วยตามปกติ
เป็นการรับแบบที่มีการจัดตารางนอนผู้ป่วยร่วงหน้า
การรับแบบฉุกเฉิน (Emergency admission)
เป็นการนอนพักรักษาในโรงพยาบาลแบบไม่ได้วางแผนไว้ รักษาแผนฉุกเฉินก่อนอาการคงที่จึงยายไปรักษาตัวที่หอผู้ป่วย
การรับโดยตรง (Direct admission)
เป็นการนอนพักรักษาในโรงพยาบาลแบบไม่ได้วางแผน
ผู้ป่วยใน (Outpatient)
ระยะเวลาของการอยู่ในโรงพยาบาลน้อยกว่า 24 ชม.
กลุ่มที่มาตรวจเป็นครั้งๆ เมื่อตรวจเสร็จแล้วแพทย์อนุญาตกลับบ้านได้
กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดเล็ก การให้ยาเคมีบำบัดเป็นครั้งๆ ซึ่งผู้ป่วยต้องนอนสังเกตอาการ เมื่ออาการดีขึ้นก็สามารถกลับบ้านได้
หลักการส่งเสริมการปรับตัวของผู้ป่วยที่อยู่ในโรงพยาบาล
เมื่อผู้ป่วยทราบว่าจะต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลย่อมเกิดความวิตกกังวล ความเจ็บปวด ความกลัวที่จะต้องสูญเสียอวัยวะ กลัวรักษาไม่หาย
การช่วยเหลือส่งเสริมการปรับตัวของผู้ป่วยที่อยู่ในโรงพยาบาล
อธิบายและแนะนำถึงข้อปฏิบัติตัวต่างๆ ที่ผู้ป่วยต้องการทราบ และให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์ต่อตัวผู้ป่วย
ช่วยลดความวิตกกังวลของผู้ป่วย โดยบอกให้ผู้ป่วยทราบถึงโรคที่ผู้ป่วยเป็นอยู่ คำถามใดที่ไม่สามารถที่จะตอบได้ ควรหาข้อมูลเพิ่มหรือปรึกษากับผู้เกี่ยวข้อง ไม่ควรพูดศัพท์ทางการแพทย์หรือภาษาอังกฤษที่ผู้ป่วยไม่เข้าใจ
ซักถามถึงประสบการณ์ในอดีตเรื่องที่เกี่ยวกับโรงพยาบาล จะทำให้รู้ถึงทัศนะคติข้องผู้ป่วย เพื่อนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการให้การพยาบาล
ต้องให้เกียรติผู้ป่วยตามความเหมาะสม เรียกผู้ป่วยด้วยชื่อ และมีคำนำหน้านามที่เหมาะสม และควรมีคำลงท้ายที่เหมาะสม
หากผู้ป่วยมีความเชื่อที่แปลกแต่ไม่ทำให้เกิดอันตราย ควรยอมรับ ไม่แสดงความดูถูกหรือหัวเราะเยาะ ควรให้ความเคารพในสิทธิส่วนบุคคลของผู้ป่วย
การวางแผนพยาบาล ต้องวางแผนพยาบาลตั้งแต่ผู้ป่วยเริ่มเข้ามาอยู่ในโรงพยาบาล เปลี่ยนแปลงเมื่ออาการหรือปัญหาของผู้ป่วยเปลี่ยน จะมีประสิทธิภาพหากผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการวางแผนด้วย
วัตถุประสงค์และขั้นตอนการรับผู้ป่วยใหม่
วัตถุประสงค์
เพื่อให้
ผู้ป่วยและญาติมีความรู้และปฏิบัติตามกฎระเบียบและกิจวัตรของโรงพยาบาลได้อย่างถูกต้อง
ผู้ป่วยมีเครื่องใช้ที่จำเป็นในการรักษาพยาบาล เหมาะสม ครบถ้วน
ผู้ป่วยได้รับการประเมินปัญหาและความต้องการทางร่างกาย และจิตสังคมได้ถูกต้อง
ผู้ป่วยและญาติคลายความวิตกกังวล เต็มใจและให้ความร่วมมือในการรักษาพยาบาล
ผู้ป่วยมีความปลอดภัยและสุขสบายเพิ่มขึ้น
ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง เหมาะสมกับสภาพความเจ็บป่วย
การเตรียมอุปกรณ์
เตรียมเตียงหรือห้องพักผู้ป่วยให้พร้อมเพื่อต้อนรับการรักษาตัวของผู้ป่วย
เอกสารรายงานรับผู้ป่วยใหม่หรือบันทึกต่างๆ
อุปกรณ์ที่จำเป็นตามความเหมาะสมสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย
เครื่อมือตรวจสัญญาณชีพ น้ำหนัก ส่วนสูง
สมุดบันทึกการรับใหม่
เครื่อใช้ส่วนตัว
ขั้นตอนการรับผู้ป่วยใหม่
เตรียมสิ่งแวดล้อมเพื่อรับผู้ป่วยใหม่
สร้างสัมพันธภาพ
ตรวจสอบชื่อ นามสกุลของผู้ป่วย การลงทะเบียนรับผู้ป่วยใน และลายเซ็นรับผู้ป่วยของแพทย์จากบัตรตรวจโรคของดรงพยาบาลให้ตรงกับเจ้าหน้าที่แผนกผู้ป่วยนอกแจ้งมา
ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว ไม่ต้องวัดก็ได้
นำผู้ป่วยไปที่เตียง
วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และควมดันดลหิต เพื่อเป็นการประเมินสภาพแรกรับไว้เป็นข้อมูลพื้นฐาน
อธิบายกิจกรรมการรักษาพยาบาลที่จะให้ผู้ป่วย
ให้ผู้ป่วยหรือญาติที่มีสิทธิตามกฎหมายเซ็นอนุญาตยินยอม เข้ารับการรักษา รับเลือด ผ่าตัด แล้วแต่กรณี และให้พยาบาลเซ็นชื่อเป็นพยาน
เก็บรวบรวมข้อมูลผู้ป่วย โดยการสัมภาษณ์ผู้ป่วยและญาติ การตรวจร่างกาย การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ให้ความช่วยเหลือหรือคำแนะนำในการอาบน้ำแรกรับเข้ารักษาในโรงพยาบาล
เบิกอาหารให้ผู้ป่วยที่เหมาะสมกับโรค และแผนกการรักษา
นำป้ายข้อมือไปติดข้อมือผู้ป่วย ติดป้ายหน้าเตียง และป้ายข้อที่ควรปฏิบัติกับผู้ป่วย เพื่อเป็นการแจ้งแพทย์
แจ้งแพทย์เจ้าของผู้ป่วยให้ทราบการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลของผู้ป่วย
ลงทะเบียนรับผู้ป่วยใหม่ จัดทำแฟ้มประวัติ
สาเหตุและอุปกรณ์การจำหน่ายผู้ป่วย
ประเภทการจำหน่ายผู้ป่วย
การจำหน่ายผู้ป่วยเื่อมีอาการทุเลาลงจากภาวะที่อันตราย
การจำหน่ายโดยไม่สมัครใจอยู่
การจำหน่ายเนื่องจากผู้ป่วยหนีกลับ
การจำหน่ายเนื่องจากผู้ป่วยถึงแก่กรรม
การจำหน่ายผู้ป่วยเนื่องจากมีการส่งต่อให้ไปรับการดูแลรักษายังสถานบริการสุขภาพอื่น
วัตถุประสงค์การจำหน่ายผู้ป่วย
เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้องเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง
เพื่อให้ผู้ถึงแก่กรรมได้รับการปฏิบัติอย่างถูกต้องตามขนบธรรมเนียม และความเชื่อทางศาสนา
เพื่อให้ผู้ถึงแก่กรรมมีร่างกายที่สะอาด อยู่ในสภาพที่ดีที่สุด อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สงบเรียบร้อย
อุปกรณ์ในการจำหน่ายผู้ป่วย
รายงานผู้ป่วยทั้งหมด
สมุดจำหน่ายผู้ป่วย
เสื้อผ้าผู้ป่วย
บัตรประจำตัวของโรงพยาบาล
ใบนัด
ใบสั่งยา
กรณีถึงแก่กรรมให้เตรียมเครื่องใช้ในการอาบน้ำ สำลี ก๊อซ บัตรติดข้อมือศพ
บทบาทพยาบาลในการวางแผนจำหน่ายผุ้ป่วยตามรูปแบบ D-M-E-T-H-O-D
การวางแผนจำหน่าย (Discharge planning)
เป็นการวางแผนในการดูแลผู้ป่วยที่ต้องการดูแลอย่างต่อเนื่องหลังการจำหน่ายอย่างเป็นระบบ เพื่อเตรียมการให้ผู้ป่วย ครอบครัว ผู้ดูแล สามารถให้การดูแลสุขภาพได้ด้วยตัวเองอย่างมั่นใจ ปลอดภัย
วัตถุประสงค์
ส่งเสริมผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง
พัฒนาศักยภาพในการดูแลตัวเองของผุ้ป่วย ครอบครัว ผู้ดูแล
ลดความวิตกกังวลของผุ้ป่วย ครอบครัว ผู้ดูแล
ส่งเสริมการใช้แหล่งประโยชน์ที่จำเป็น
ควบคุมค่าใช้จ่ายของสถานพยาบาล
วางแผนจำหน่ายแบบ D-METHOD
D=Diagnosis
ให้ความรู้ดรคที่เป็นอยู่ เกี่ยวกับสาเหตุ อาการ การปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง
M=Medication
ให้ความรุ้เกี่ยวกับยาที่ต้องรับประทานอย่างต่อเนื่องที่บ้าน
E=Environment & Economic
กระตุ้นให้ผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล เห็นความสำคัญของการใช้สถานบริการในชุมชน การจัดการสิ่งแวดล้อมที่บ้านให้เหมาะสมกับสภาวะสุขภาพ
T=Treatment
แนะผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล ให้เข้าใจเป้าหมายการรักษา แนะนำให้ปฏิบัติกิจกรรมการรักษา วิธีการใช้และวิธีการทำความสะอาดอุปกรณ์ เครื่องมือ แนะนำแหล่งที่หาเครื่องมือ เครื่องใช้
H=Health
ให้ความรู้เกี่ยวกับข้อจำกัดในการทำกิจกรรมให้เหมาะสมกับภาวะสุขภพ
O=Outpatient referral
ชี้แจงให้ผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล ตระหนักและเข้าใจถึงความสำคัญของการมาตรวจตามนัดและอาการผิดปกติที่ต้องมาก่อนนัด
D=Diet
ให้ความรู้เรื่องอาหารเฉพาะโรค หลีกเลี่ยงหรืองดอาหารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ แนะนำแหล่งประโยชน์หรือสถานที่ให้คำปรึกษาเมื่อมีปัญหาเรื่องอาหาร
ข้อบ่งชี้และการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรม
Algor mortis
อูณหภูมิร่างกายลดลง 1 ํC ต่อชั่วโมงจนเท่าอูณหภูมิห้อง เนื่องจากการไหลเวียนเลือดหยุด และ Hypothalamus หยุดทำงาน
Livor mortis
เมื่ิอการไหลเวียนเลือดหยุด ผิวหนังจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงคล้ำ ตามบริเวณส่วนล่างของร่างกาย เกิดทุกรายภายหลังตาย 5 ชั่วโมงและเกิดเต็มที่หลังตายประมาณ 12 ชั่วโมง และคงอยู่ตลอดไปจนกว่าศพจะเน่า
ประโยชน์ คือ บอกเวลาตาย บอกสภาพเดิมของศพ บอกสาเหตุการตาย
Rigor mortis
การแข็งทื่อของร่างกายหลังเสียชีวิต ประมาณ 2-4 ชั่วโมง เกิดจากการหดเกร็งของกล้ามเนื้อโครงกระดูก และกล้ามเนื้อเรียน เพื่อป้องกันศพผิดรูปร่าง
การพยาบาลภายหลังถึงแก่กรรม
การแต่งศพ
การดูแลศพให้เรียบร้อยพร้อมเคลื่อนย้ายไปยังห้องศพ การแต่งศพจะจ้องคำนึงถึงขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของผู้ตาย
วัตถุประสงค์
เตรียมศพให้สะอาด เรียบร้อยพร้อมย้ายไปยังห้องศพ
ดูแลจัดการตามข้อกฎหมาย กฏระเบียบของโรงพยาบาลและขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมเชื้อชาติ ศาสนาของผู้ตาย
ดูแลจัดเก็บของใช้ ของต้องทิ้งหรือทำลายให้ถูกต้อง
ประสานงานหน่วยงานหรือบุคลากรที่เกี่ยวข้องได้ถูกต้อง
เขียนบันทึกรายงานที่เกี่ยวข้องถูกต้อง